Page 159 - kpi22228
P. 159
151
4.3 ขอคนพบรูปแบบการตลาดการเมือง: จุดออนและจุดแข็ง
ดังไดกลาวมาแลววาพรรคการเมืองไทยดําเนินการในแนวทางการตลาดการเมืองในสามรูปแบบ ไดแก
รูปแบบแรก คือ พรรคที่มีลักษณะของสถาบันการเมืองสูง และใชชื่อเสียงในอดีตมาเปนจุดขาย
รูปแบบที่สอง คือพรรคการเมืองหนาใหม แตใชฐานคติแบบเกา ไมวาจะเปนอํานาจรัฐ สายสัมพันธ
เครือขายเชิงอุปถัมภ และบารมี เพื่อใหไดชัยชนะในการเลือกตั้ง
รูปแบบที่สาม พรรคการเมืองหนาใหม แตใชกลยุทธการตลาดแบบสรางอนาคตรวมกัน และตลาด
เฉพาะ ซึ่งประสบความสําเร็จในระดับที่หลากหลาย พรรคการเมืองรูปแบบสุดทาย คือพรรคการเมืองที่
พยายามใชโอกาสทางการเมืองในการสรางความสนใจในทุกรูปแบบ กลุมนี้จะประสบผลสําเร็จนอยที่สุด
จากแนวทางดังกลาว ผูวิจัยมีขอคนพบ ดังนี้
ประการแรก ในกลุมพรรคเกาแกทั้งพรรคประชาธิปตยและพรรคเพื่อไทยนั้นมีแนวทางคลายคลึงกัน
เพราะมีความเปนยี่หอสินคาที่สูงกวาทั้งสองพรรคประเมินวาตัวเองมี “ตนทุนทางการเมือง” สูงกวาพรรคอื่น
แตผลจากความขัดแยงทางการเมืองและกรอบกติกาทางการเมือง เชน ยุทธศาสตรชาติ 20 ป ทําใหทั้งสอง
พรรคไมสามารถสรางผลิตภัณฑเชิงนโยบายเพื่อทําการตลาดการเมืองไดอยางเต็มที่
ถึงจะมีกรอบกติกาที่จํากัด แตพรรคเพื่อไทยก็สามารถมี ส.ส. เขตไดเต็มที่ ในสัดสวนคะแนนที่ทําได
โดยไมไดรับ ส.ส. บัญชีรายชื่อแมแตคนเดียว พรรคเพื่อไทยสามารถเขาสูสภาผูแทนราษฎรไดถึง 136 คน
เทากับวา ปจจัยดานการตลาดทางการเมืองนั้น ไมเพียงพอตอการสรางชัยชนะทางการเมืองของพรรคเกาแก
ประการที่สอง พรรคการเมืองใหมอยางพลังประชารัฐ อาศัยผลิตภัณฑทางนโยบายของ
คณะรัฐประหารคือนโยบายประชารัฐมาเปนชื่อพรรค เพื่อสรางความรับรูวาเปนพรรคของคณะรัฐประหาร
ที่สามารถบริหารประเทศตั้งแตป 2557-2562 ไดราบรื่นและมีความสงบ เปนพรรคที่มีฐานอํานาจแนบแนนกับ
คณะรัฐประหาร มีผูชํานาญการตลาด มีนักธุรกิจจากภาคเอกชนมารวมวางยุทธศาสตร ใหการสนับสนุน
จํานวนมาก สรางความเชื่อมั่นจากภาคเอกชนได ทําใหฐานอํานาจและอิทธิพลของพรรคสามารถนําสมาชิก
เขาสูสภาผูแทนราษฎรไดเปนอันดับสอง
ประการที่สาม พรรคการเมืองใหมอยางพรรคอนาคตใหม เปนพรรคที่อยูในกลุมพรรคการเมือง
ที่เนนอนาคต พรรคที่เนนการตลาดอนาคต จะมีกระบวนการสรางพรรคแบบสรางอนาคตรวมกัน (co-
creating future)
พรรคอนาคตใหมไมไดวางรากฐานของพรรคผานระบบหัวคะแนนอยางพรรคการเมืองอื่น ๆ ที่ผานมา
แตเนนระบบอาสาสมัครและการใชสื่อโซเชียลมีเดียทําใหพรรคอนาคตใหมทั้งผูนํา ผูสมัครและผูสนับสนุน
เขาถึงกลุมผูใชสิทธิเปนครั้งแรก (first-time voters) ไดมากอยางนาสนใจ นอกจากนี้ การสรางบุคลิกภาพ
ของผูนําพรรคที่กลายมาเปน “ไตรเทพ” และหัวหนาพรรคแบบผูนําเหนือชั้น (hyperleader) ยิ่งทําให
ฐานความนิยมที่มีตอหัวหนาพรรคแผมายังผูสมัครของพรรคไดอยางนาทึ่ง