Page 116 - kpi22228
P. 116

108



               อํานาจรัฐบาล รวมถึงการเปลี่ยนกรอบกติกาการเลือกตั้งที่สงผลดีตอพรรคใหญ อยางไทยรักไทย (นันทนา

               นันทวโรภาส 2548, 222)
                       3. การเปลี่ยนแปลงของกลุมตัวแทนแหงอํานาจเจ็ดกลุมดังตอไปนี้

                              - กลุมแรก กลุมสื่อมวลชน เปนกลุมที่มีอิทธิพลตอการหาเสียงเลือกตั้งเปนอยางมาก

               ซึ่งพรรคตาง ๆ พยายามยึดครองพื้นที่สื่อใหไดมากที่สุดโดยเฉพาะสื่อวิทยุและโทรทัศน เนื่องจากมีกฎหมาย
               หามการซื้อสื่อวิทยุโทรทัศนเพื่อการหาเสียงทุกพรรคจึงมุงทําตัวเปนขาวเพื่อจะไดพื้นที่ขาวโดยไมตองจายเงิน

               ซึ่งจากการสํารวจพบวาพรรคไทยรักไทยสามารถครอบครองพื้นที่สื่อไดสูงสุดเปนอันดับหนึ่ง

                              - กลุมที่สอง โพลสํานักตาง ๆ การเลือกตั้งครั้งนี้ ผลโพลชี้ไปในทิศทางเดียวกันคือพรรคไทย
               รักไทยจะไดที่นั่งสสมากที่สุด โพลที่เสนอผลใกลเคียงมากที่สุดคือโผของกระทรวงมหาดไทยที่ทําการสํารวจ

               ในโคงสุดทายและพบวาพรรคไทยรักไทยจะไดพื้นที่รวมทั้งสิ้น 370 ที่นั่ง โดยผลการเลือกตั้งจริงได 377 ที่นั่ง

               ซึ่งผลโพลของหนวยงานราชการเหลานี้เอื้อประโยชนพรรคไทยรักไทยเนื่องจากเปนรัฐบาล สามารถนําขอมูล
               มาศึกษาได

                              - กลุมที่สาม กลุมผลประโยชนและกลุมกดดัน ในการเลือกตั้งครั้งนี้ กลุมองคกรพัฒนาเอกชน

               (NGO) ไดรวมตัวกันแสดงทาทีปฏิเสธพรรคไทยรักไทย โดยประกาศเจตนารมณ “ชูธงเขียวลมระบอบทักษิณ”
               ขณะเดียวกันก็แนะใหเลือกพรรคประชาธิปตยเพื่อถวงดุลอํานาจ อยางไรก็ตามแมกลุมกดดันที่เคลื่อนไหว

               ตอตานรัฐบาลนี้จะเปนประโยชนตอพรรคประชาธิปตย แตกระแสตอตานก็ไมไดรับการขานรับในวงกวาง

               แตอยางใด
                              - กลุมที่สี่ พรรคการเมือง ในการเลือกตั้งครั้งนี้พรรคการเมืองสําคัญ 4 พรรค มีการหาเสียง

               โดยเสนอนโยบาย “แนวประชานิยม” 1) พรรคไทยรักไทย รณรงคหาเสียงดวยแคมเปญ “สี่ปซอมสี่ปสราง”

               เสนอนโยบายหลัก 16 ขอ ซึ่งเปนการตอยอดจากนโยบายเดิมที่รัฐบาลทําไปแลว โดยจุดหลัก ๆ ของ
               การรณรงคเนนที่ตัว ทักษิณ ชินวัตร โดยชูใหเปนผูนําในการพัฒนาประเทศตอเนื่องอีกหนึ่งสมัย 2)

               พรรคประชาธิปตย หาเสียงดวยแนวคิดรวบยอดที่หลากหลาย เริ่มจากแคมเปญทวงคืนประเทศไทย จากนั้น

               นําเสนอนโยบาย “5 คํามั่นสัญญา” โดยในชวงกลางของการหาเสียงนําเสนอแคมเปญ “เลือกใหถึง 201 เสียง
               เพื่อฝายคานคุณภาพ” ซึ่งแมจะเปนการรณรงคที่ตรงใจปญญาชนกลุมใหญแตก็เปนแคมเปญที่ขัดแยงกับ “5

               คํามั่นสัญญา” ที่มุงเสนอนโยบายเพื่อเปนรัฐบาล 3) พรรคชาติไทย มีเเนวทางการรณรงคแยกเปน 2 แนวทาง

               คือในกรุงเทพฯ เนนบทบาทเดนอยูที่แคมเปญของนายชูวิทย กมลวิศิษฎ ในภาพของการเปนผูเปดโปง
               ความทุจริตในวงการตาง ๆ สวนในภูมิภาคเนนบทบาทของนายบรรหาร ศิลปอาชา ที่เรียกขบวนหาเสียงวา

               “มาสีหมอก” นําเสนอนโยบายสิบขอเนน ๆ เจาะลึกในพื้นที่เฉพาะที่เปนเปาหมายมากกวาภาพกวาง 4) พรรค

               มหาชน เนนการรณรงคในดานสื่อมวลชนเปนหลัก ซึ่งใชงบประมาณในการซื้อสูงที่สุดในบรรดา 4 พรรค
               การเมือง นําเสนอนโยบายแนวทางสวัสดิการกาวหนา ขณะเดียวกันก็โจมตีพรรคไทยรักไทยดวยคําขวัญ

               “ลมเผด็จการนายทุน สนองคุณแผนดิน” แตดวยคําการนําเสนอที่เปนนามธรรมจึงขาดน้ําหนักในการโนมนาว

               ใจแมจะใชสื่อมากก็ตาม
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121