Page 117 - kpi22228
P. 117

109



                              - กลุมที่หา ผูสมัครรับเลือกตั้ง การเลือกตั้งของไทยเนนที่ตัวบุคคลเปนสําคัญ พรรคการเมือง

               ตาง ๆ มุงคัดเลือกผูสมัครที่มีศักยภาพในชัยชนะมากกวาพิจารณาถึงแนวคิดอุดมการณที่สอดคลองกับพรรค
               ซึ่งการเลือกตั้งครั้งนี้พรรคไทยรักไทยเปนพรรคที่มีส.ส. เกาสังกัดอยูสูงสุด ความโดดเดนของผูสมัครแบบ

               แบงเขตจึงอยูที่พรรคไทยรักไทยเปนหลัก จึงไดเปรียบพรรคอื่น ๆ ในดานของตัวผูสมัครลงรับเลือกตั้งที่เปน

               ส.ส. เดิม
                              - กลุมที่หก ที่ปรึกษามืออาชีพ ในการเลือกตั้งครั้งนี้มีเพียงพรรคไทยรักไทยเทานั้นที่มีการจาง

               บริษัทโฆษณามืออาชีพ เขามาผลิตสื่อในการรณรงคหาเสียง สวนพรรคอื่นจะดําเนินการโดยกลุมผูบริหารพรรค

               และใหบริษัทที่ผลิตชิ้นงานโฆษณามาประมูลงานไปทํา พรรคไทยรักไทยจึงมียุทธศาสตรที่ชัดเจนและสื่อตาง ๆ
               จะสอดคลองกับการเปดรับของกลุมเปาหมาย รวมทั้งความสวยงามโดดเดนในเชิงศิลปะ จึงสรางความ

               เหนือกวาของคูแขงอยางเห็นไดชัด

                              - กลุมสุดทาย กลุมผูเลือกตั้ง ในการเลือกตั้งป 2544 เปนจุดเปลี่ยนครั้งสําคัญ ที่พรรค
               ไทยรักไทยไดหาเสียงโดยใชนโยบายเปนจุดขายทําใหผูเลือกตั้งในชนบทเริ่มสนใจนโยบายพรรคการเมือง

               ที่จะเขามาแกปญหาตาง ๆ ดังนั้นเมื่อผูเลือกตั้งใหความสําคัญกับแนวนโยบายจึงเกิดประโยชนแกพรรคไทยรัก

               ไทยมากกวาพรรคการเมืองอื่น เพราะเปนพรรคที่เสนอนโยบายและนําไปปฏิบัติไดเห็นผลจริง (นันทนา
               นันทวโรภาส 2548, 222-224)

                       จากการรณรงคหาเสียงเลือกตั้งภายใตกรอบการตลาดที่พรรคไทยรักไทยนํามาใชนั้น นํามาซึ่ง

               ผลสําเร็จสูงสุดในประวัติศาสตรการเมืองไทยโดยชนะการเลือกตั้งทั้งภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคกลาง และ
               กรุงเทพมหานคร แตทวาพายแพอยางรุนแรงในภาคใต



               3.4 พัฒนาการและกลยุทธการแสวงหาความนิยมทางการเมืองในการเมืองไทย
                       ดังไดกลาวมาแลววา การเปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ไดเปดพื้นที่ใหกับ

               การแขงขันทางการเมืองเขาสูสภาผูแทนราษฎรในยุคแรก ซึ่งในการแขงขันทางการเมืองในยุคแรกไมไดอยูที่

               การตลาดการเมืองอยางเขมขน ผูสมัครรับเลือกตั้งแตละรายอาศัยความโดดเดน วาทะ คารม เปนเครื่องดึงดูด
               ความสนใจ

                       ในการแขงขันทางการเมืองไทยยุคแรก นักการเมืองไมถูกกํากับดวยกฎหมายการเลือกตั้งแบบ

               ในปจจุบัน การกระทําการเพื่อแสวงหาความนิยมทางการเมืองจึงมีตั้งแต การแจกรองเทาขางเดียว
               การแจกหมาก พลู ขนม ของขบเคี้ยว จนถึงการใหคําสัญญาวาจะสรางถนน นําเอาไฟฟาเขามา รวมทั้งการใช

               อํานาจหนาที่และอิทธิพลเพื่อโยกยายบุตรหลาน หรือกระทั่งตัวขาราชการเพื่อความนิยมทางการเมือง

                       นอกจากการแสวงหาความนิยมดวยการแจกสิ่งของและเงิน ในอีกดานหนึ่งก็มีการใชอิทธิพล
               ทางการเมืองในหลายรูปแบบ ไดแก การใชสถานะขาราชการของตน การเปนนักธุรกิจทองถิ่น
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122