Page 118 - kpi22228
P. 118

110



                       การเปนขาราชการ ซึ่งหากเปนนายทหาร เมื่อเกษียณอายุราชการในที่ใด ก็จะลงสมัครในพื้นที่

               ดังกลาว เพราะมีทหารเกณฑที่ตองลงทะเบียนที่อยูอาศัยในคายทหาร นับเปนผูใชสิทธิเลือกตั้งที่เปนกลุมเปน
               กอนและสามารถ “สั่ง” ได

                       คมกริช วัฒนเสถียร (2527) กลาวสรุปไดนาสนใจถึงบรรยากาศการหาเสียงเลือกตั้งและบทบาท

               ของพรรคการเมือง ตลอดจนการสรรหาตัวผูสมัคร การนําเสนอตัวผูสมัครเอาไวนาสนใจวา กลุมผูสมัคร
               ของพรรคการเมือง มี 5 กลุม ไดแก นักการเมืองโดยสายเลือด นักการเมืองอาชีพ (ซึ่งมาจากนักกฎหมายกับ

               นักปกครอง) นักการเมืองทองถิ่น นักธุรกิจเงินลาน และคนเดนคนดังแหงยุค

                       คมกริชยังเนนความสําคัญของการเลือกเขารวมพรรคการเมือง วามี 5 เหตุผล ไดแก เขาพรรคเพราะ
               เงิน เพราะอุดมการณ เขาพรรคเพราะพวก เขาพรรคเพราะทองถิ่นนิยม และเขาพรรคใหม โดยชี้ใหเห็นจุดดี

               จุดดอยของการเขาพรรคในแตละรูปแบบ เชน การเขาพรรครัฐบาลก็จะมีการสนับสนุนทางการเงินดี

               ซึ่งผูสมัครจํานวนมากเชื่อวาจะไดรับเลือกตั้งหากเปนผูสมัครในนามพรรครัฐบาล  แตการเขารวมพรรค
               เพราะอุดมการณก็อาจจะประสบความสําเร็จไดชา อีกทั้งยังอาจไมไดรับการสนับสนุนทางการเงินและเสี่ยงตอ

               การสอบตก แตถาเขาเพราะพวกแลว ก็จะคอนขางสบายใจ เพราะเปนกลุมคนที่มีความเห็น แนวทาง

               การทํางาน แนวนโยบายไปในทางเดียวกัน สามารถผลักดันนโยบายได สวนการเขาพรรคเพราะทองถิ่นก็เปน
               แนวทางที่นาสนใจ คมกริชถึงกับชี้วา “...ในจังหวัดทางภาคใตของประเทศนั้น ผูสมัครที่สังกัดพรรค

               ประชาธิปตยมีโอกาสไดรับเลือกตั้งเปนผูแทนราษฎรมากกวาผูสมัครพรรคอื่น รองลงไปก็ไดแกพรรคกิจสังคม

               ผูที่ตองการไดรับเลือกตั้งเปนผูแทนราษฎรในจังหวัดทางภาคใตจึงควรสมัครในนามพรรคประชาธิปตยหรือ
               กิจสังคม..”เชนเดียวกับในกรุงเทพซึ่งประชาชนมีแนวโนมจะเลือกผูสมัครจากพรรคประชาธิปตยและกิจสังคม

               สวนภาคอีสานและภาคกลางควรจะเลือกพรรคชาติไทยที่มีรากฐานและองคกรที่เขมแข็ง สวนจังหวัด

               ทางภาคเหนือและภาคอีสานมักจะเลือกผูสมัครจากพรรคกิจสังคมโดยไมคํานึงวาผูสมัครนั้นจะมีคุณสมบัติ
               อยางไร เทากับวาผูสมัครในนามพรรคกิจสังคมไดรับคะแนนนิยมกอนการเลือกตั้ง 20% เปนทุนเดิมอยูใน

               กระเปาอยางสบายอยูแลว” (คมกริช วัฒนเสถียร 2527, 26-27) แตหากจะเลือกรรคใหมก็ตองพิจารณาปจจัย

               ตาง ๆ ใหมาก ซึ่งมีขอดีคือสามารถเสนอนโยบายใหม ๆ ได ตองดูผูกอตั้งพรรค ดูศรัทธาประชาชน แตก็มี
               ขอเสียวาพรรคใหมยังไมมีผลงานและชื่อเสียงเทากับพรรคเกาแก (คมกริช วัฒนเสถียร 2527, 28-30)

                       คมกริชยังกลาวถึงการเลือกพื้นที่สมัครวามี 3 ถิ่น ไดแก ถิ่นกําเนิด ถิ่นทํางาน และถิ่นทองแลวตีความ

               เหมาะสม การเลือกสมัครที่บานเกิดยอมมีคะแนนพื้นฐานที่ผูสมัครไดรับจากการเปนคนในทองถิ่นนั้น มีญาติ
               พี่นองและเปนที่รูจักก็จะทําใหมีโอกาสสูง สวนถิ่นทํางานนั้น หากผูสมัครทํางานลงหลักฐานไดชัดเจนที่ใดก็ควร

               สมัครที่นั่น เพราะไมตองรื้อฟนความสัมพันธ สวนกรณีสุดทายอาจจะตองเลือกระหวางถิ่นที่อยูนานที่สุด

               มีธุรกิจ มีผลงาน (เปนขาราชการ) ประชาชนใหความนับถือ หรือมีประสบการณในทองถิ่นนั้นดี (คมกริช
               วัฒนเสถียร 2527, 31-40)
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123