Page 112 - kpi22228
P. 112

104



                       3. การกําหนดวัตถุประสงค จะแบงเปนสามระยะ ระยะแรกของการกอตั้งพรรคจะวางแผน

               ในการเขาถึงประชาชนในระดับหนึ่งเทานั้น จุดประสงคในการวางกลยุทธทางการตลาดในชวงแรกคือตองการ
               สรางการรับรู พรรคในฐานะปายสินคาทางการเมืองใหม (Brand Awareness) ที่มีคุณภาพ (ปานหทัย

               ตันติเตชา 2546, 79-80)

                       ชวงระยะยุบสภา พรรคกําหนดจุดประสงคดวยการนําเสนอพรรคในลักษณะของ Brand Positioning
               และมุงหวังแยงสวนแบงการตลาดจากพรรคประชาธิปตย โดยตองสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมความพอใจ

               ของผูบริโภคใหหันมาใชบริการ หรือบริโภคสินคาไทยรักไทย

                       ชวงระยะการรณรงคหาเสียงเลือกตั้ง จะมุงเนนนําเสนอคุณภาพของพรรค โดยเฉพาะการเนน
               ความเปนพรรคของคนรุนใหมคิดใหมทําใหมนโยบายเปรียบเทียบและความลมเหลวของการบริหารประเทศ

               ของรัฐบาลชุดที่ผานมา

                       4. การสื่อสารและกําหนดสื่อ ผูวิจัยแบงประเภทของสื่อตาง ๆ ที่พรรคใชออกเปน 4 ประเภท ไดแก
                       สื่อมวลชน เปนสื่อที่มีพลังและเขาถึงประชาชนในเขตกรุงเทพมากที่สุด สื่อในรูปแบบนี้มุงสราง

               ภาพลักษณของพรรค ใหประชาชนมองพรรควาเปนพรรคของคนรุนใหมทางเลือกใหม เสนอภาพใหเห็นถึง

               การคิดจริงทําจริง เชนการเสนอขาวกิจกรรมที่พรรคจัดขึ้น
                       สื่อสิ่งพิมพ ในงานวิจัยชิ้นนี้หมายถึง โปสเตอร โบรชัวร แผนปาย ใบปลิว สติ๊กเกอร วารสารจากทาง

               พรรค ปายบิลบอรดขนาดใหญ ซึ่งสื่อในรูปแบบนี้ถูกผลิตขึ้นเพื่อรองรับการคํานึงถึงการนําเสนอขอมูล

               สูประชาชนในเขตพื้นที่ตาง ๆ (ปานหทัย ตันติเตชา 2546, 102)
                       สื่อกิจกรรมพิเศษ สื่อในรูปแบบนี้ถูกจัดขึ้นตามลักษณะของประชากรศาสตรและพฤติกรรมของ

               ประชาชนในเขตพื้นที่เปนหลัก ซึ่งจะผนวกเอาเรื่องนโยบายของพรรคเขาไปสอดแทรก การทํากิจกรรมตาง ๆ

               ซึ่งสื่อชนิดนี้ ผูสมัครแตละรายจะใหความสําคัญมาก ถือวาเปนการหาเสียงและสรางความสัมพันธกับประชาชน
               ไดเปนอยางดี ซึ่งกิจกรรมที่เปนที่นิยมอยางมากก็คือการจัดหนวยแพทยเคลื่อนที่และคาราวานสินคาลดราคา

               นอกจากนี้กิจกรรมของพรรคไทยรักไทย ยังมีกิจกรรมที่เนนทํากับเด็ก สตรี คนทํางาน นักธุรกิจ สื่อมวลชน

               ผูนําศาสนา ขาราชการ เปนตน อีกดวย (ปานหทัย ตันติเตชา 2546, 110)
                       สื่อเบ็ดเตล็ด เปนสื่อประเภทสิ่งของที่ระลึกชิ้นเล็กที่ผลิตขึ้น เพราะพรรคเล็งเห็นถึงศักยภาพ

               ของทฤษฎีการตอกย้ําหรือสรางความคุนเคยในลักษณะของการผานตา (Brand Contract) มีผลตอ

               ความประทับใจและการตัดสินใจเลือกพรรค สติ๊กเกอรตราประจําพรรค เสื้อแจ็คเก็ต หมวกแกป เข็มกลัด
               กระติกน้ํา รม ลูกฟุตบอล ไมบรรทัด สมุด เปนตน  (ปานหทัย ตันติเตชา 2546, 125-127)

                       ซึ่งทั้งหมดนี้ถูกเขาผนวกเขากับกระบวนการสื่อสารทางการเมือง โดยจุดประสงคเพื่อสรางภาพลักษณ

               ทางการเมือง โฆษณาทางการเมือง และเพื่อชัยชนะในการเลือกตั้ง
                       ปานหทัย ไดชี้ใหเห็นวาพรรคไทยรักไทยเนนการทําการสํารวจความคิดเห็นมาก และมีความเชื่อมั่นใน

               การทําโพลของพรรคที่สามารถแยกอายุ รายได เพศ วิชาชีพและแนวความคิดวาพวกเขาตองการอะไร

               ซึ่งสุรนันท เวชชาชีวะ โฆษกพรรคกลาววาองคประกอบสําคัญของพวกเขาคือคนของพรรค ไดแก นักการเมือง
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117