Page 110 - kpi22228
P. 110

102
































                                  ภาพที่ 3.18 : ภาพปกหนังสือ สัตวการเมืองยุคโลกานุวัตร ของ ชัยอนันต สมุทวณิช

                                                 ที่มา : https://www.bookpanich.com


                       ที่กลาวมาขางตน จะเห็นไดวาภาพลักษณของนักการเมืองสะทอนผานแนวทางการแตงกาย
               และยุคสมัย และการสรางภาพลักษณทางการเมือง แตยังไมมีการกําหนดยุทธวิธีการตลาด การสราง

               ภาพลักษณของนักการเมืองในฐานะผลิตภัณฑหรือสินคาทางการเมืองอยางชัดเจน

                       แตอีกดานหนึ่งภาพลักษณนักการเมืองถูกอธิบายผานวรรณกรรมยอดนิยม จนถึงศิลปะวานักการเมือง
               มีความชั่วรายเปน “สัตวการเมือง” ที่เกลือกกลั้วกันในหมูคนชั่วราย ดังปรากฏในภาพเขียนของประสงค

               ลือเมือง บนปกหนังสือสัตวการเมืองยุคโลกานุวัตรวานักการเมืองคือบุคคลในเรือนรางที่บิดเบี้ยว ใชลิ้นเลีย

               บาทาของผูมีอํานาจ มีความกลิ้งกลอก หาความดีไมได แมอาจจะมีนักการเมืองบางคนที่ยังหลงเหลือความเปน
               มนุษยอยูบางแตนักการเมืองก็ยังมีสวนสํานึกของสัตวอยู นับเปนภาพสะทอนภาพลักษณของนักการเมืองไทย

               ในอีกดานหนึ่งที่พึงพิจารณา



               3.3 พรรคไทยรักไทยกับการตลาดการเมือง
                       ในตอนนี้จะเปนการศึกษาการนําเอาแนวคิดดานการตลาดมาใชในการเมือง และการใชยุทธวิธีการ

               หาความนิยมทางการเมือง ความเปลี่ยนแปลงของการใชกลยุทธการตลาดในการเมืองไทย โดยมองผาน

               การทํางานของพรรคไทยรักไทย
                       ปานหทัย ตันติเตชา (2546) ศึกษาการตลาดทางการเมืองในการรณรงคหาเสียงเลือกตั้งของพรรคไทย

               รักไทยในเขตกรุงเทพมหานคร โดยดูรูปแบบกลยุทธการตลาดแบบครบวงจร (Integrated Marketing

               Communication: IMC) ที่พรรคไทยรักไทยใชในการหาเสียงเลือกตั้งในป 2544 และศึกษากระบวนการใน
               การวางแผนการใชสื่อ ตลอดจนกระบวนการนําสื่อไปใชเพื่อสรางภาพลักษณทางการเมือง เสนอนโยบายของ
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115