Page 60 - kpi22173
P. 60

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  ที่ถูกทาง รวมถึงมีเครื่องมือที่สามารถดักติดตามสัญญาณที่อาจกอใหเกิดวิกฤติการณไดแบบเรียลไทมก็จะ

                  สงผลใหสามารถจัดการกับวิกฤติการณนั้นๆ ไดอยางทันทวงที


                             เอกสารที่เกี่ยวของกับการจัดการเหตุฉุกเฉินบางชิ้นพยายามแยกแยะใหเห็นความแตกตางของ

                  แนวคิดของวิกฤติที่สามารถคาดเดาได (Predictable crisis) เปนการเปดโอกาสใหหนวยงานที่เกี่ยวของ
                  มีเวลาเตรียมการลวงหนาและเรียนรูจากบทเรียนและประสบการณกอนหนานี้ (Howitt A. M. & Leonard

                  H. B., 2009, p. 4) จากวิกฤตการณใหมๆ (Novel crisis) ซึ่งถูกมองวาเปนสถานการณที่มีเอกลักษณ

                  เฉพาะตัว และมีตัวอยางและประสบการณในอดีตใหศึกษาไมมากนัก (Schwartz, 2012, pp. 313-331)

                  สิ่งที่แยกวิกฤตการณใหมๆ วิกฤติอื่นๆ คือลักษณะที่ไมเคยคาดคิดมากอนวาจะเกิดขึ้นได โดยมีลักษณะ

                  ขามพรมแดนและแพรกระจายไปในวงกวางและสงผลกระทบตอสังคม การเมืองและเศรษฐกิจ (Baubion,

                  2013) โดยการแพรระบาดของโรค COVID-19 ถือวาเปนวิกฤติครั้งใหมที่แตกตางอยางมีนัยสําคัญจาก

                  โคโรนาไวรัสสายพันธุอื่นๆ และการแพรระบาดของโรคติดเชื้ออยางอื่น เชน เมอรส (MERS) และซารส
                  (SARS) นอกจากนี้โรค COVID-19 ยังแตกตางจากการระบาดครั้งกอน ๆ ที่เกิดขึ้นในยุคสมัยใหมในแงของ

                  การแพรกระจายครอบคลุมภูมิรัฐศาสตรอยางกวางขวางและสงผลกระทบตอสังคมตอประชากรทั่วโลก

                  ในสัดสวนอยางมีนัยสําคัญ โรค COVID-19 ไดแพรกระจายไปทั่วทุกทวีป ยกเวนแอนตารกติกา โดยเกือบ

                  ทุกประเทศในโลกกําลังตอสูดิ้นรนเพื่อควบคุมการแพรระบาดในครั้งนี้อยางหนักหนวง (San, Bastug &

                  Basli, 2020)

                             สรุปไดวา การบริหารจัดการในภาวะวิกฤติเปนแนวคิดในการแกปญหากับสถานการณที่ไมเคย

                  เกิดขึ้นมากอน โดยการบริหารจัดการในภาวะวิกฤตินั้นมีวิธีการหรือกลยุทธในการบริหารวิกฤติการณ

                  ที่แตกตางกัน

                         2.6.2 งานวิจัยที่นําแนวคิดการบริหารจัดการในภาวะวิกฤติไปใช


                             ในงานวิจัยของคณาจารยสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                  ที่เขียนโดย Suwongrat Papangkorn, Pattanaporn Chatjuthamard, Sirisak Chueykamhang และ

                  ศาสตราจารย Pornsit Jiraporn แหงมหาวิทยาลัย Penn State ประเทศสหรัฐอเมริกา (2019) ที่ศึกษาเรื่อง
                  Female directors and firm performance: Evidence from the great recession ซึ่งในงานดังกลาว

                  ไดศึกษาบทบาทและความสําคัญของผูนําหญิงในชวงภาวะเศรษฐกิจถดถอยครั้งใหญในป ค.ศ. 2008 หรือ

                  วิกฤติทางเศรษฐกิจที่ถูกเรียกวา Hamburger crisis โดยไดศึกษาถึงความสัมพันธระหวางสัดสวน

                  กรรมการบริหารที่เปนผูหญิงและผลประกอบการของบริษัท ผลการศึกษาพบวา บริษัทที่มีสัดสวนกรรมการ

                  บริหารที่เปนหญิงสูงกวาจะมีผลประกอบการของบริษัทสูงกวาบริษัทที่มีกรรมการบริหารที่เปนชาย





                                                            59
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65