Page 56 - kpi22173
P. 56

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  ไดเพิ่มมากขึ้น โดยแนวทางการใชสื่อสังคมออนไลนในอนาคต หนวยงานที่เกี่ยวของควรใหการสนับสนุน

                  และสงเสริมใหผูสูงอายุไดเรียนรูและเขาถึงการใชสื่อสังคมออนไลนไดอยางสะดวกและทั่วถึงในทุกภูมิภาค

                  ของประเทศ



                  2.5 แนวคิดเกี่ยวกับสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม


                         2.5.1 การใหนิยามเกี่ยวกับสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม

                             สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม (Socioeconomic Status--SES) เปนคําที่ใชโดยนักสังคม

                  วิทยาหรือนักเศรษฐศาสตรเพื่ออธิบายระดับของบุคคลหรือกลุมบุคคลที่วัดจากระดับการศึกษา อาชีพและ

                  รายได


                             สถานะทางเศรษฐกิจและสังคมเปนสิ่งกําหนดที่ทําใหคนในสังคมมีความแตกตางกัน ซึ่งระดับ
                  การศึกษา อาชีพและรายไดเปนตัวชี้วัดที่สะทอนสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม (Oakes and Rossi,

                  2003)


                             ในงานเขียนเรื่อง Fact Sheet: Women & Socioeconomic status ที่รวบรวมโดย American

                  Psychological Association (2010) ระบุวา สถานะทางเศรษฐกิจและสังคม (SES) เปนการวัดสถานภาพ
                  ของปจเจกชนที่ผนวกทั้งดานเศรษฐกิจและสังคมเขาดวยกัน ไมวาจะไดมาดวยประสบการณการทํางานของ

                  ปจเจกชนหรือมาจากสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมที่ปฏิสัมพันธกับคนอื่นๆ ในสังคมก็ตาม ในการ

                  วิเคราะหสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของปจเจกชนใดนั้น จําเปนตองนําเอาหลายปจจัยมาพิจารณา

                  เชน รายไดครัวเรือน ระดับการศึกษา อาชีพ เปนตน  โดย SES มักถูกนํามาบรรยายภาพความแตกตางทาง

                  เศรษฐกิจของคนในสังคมนั้นๆ ดวย ทั้งนี้ SES สามารถแบงออกเปน 3 ระดับดวยกันคือ ระดับสูง ระดับกลาง

                  และระดับลาง เพื่ออธิบายใหเห็นวาระดับสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมที่แตกตางกันทั้งสามระดับ
                  ที่ปจเจกชนและครอบครัวของคนเหลานั้นเปนอยู เพื่อใหสามารถจัดจําแนกตามเกณฑตัวแปรตางๆ เชน

                  ดานรายได ดานการศึกษา และดานอาชีพ เปนตน


                             สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมที่แตกตางกันสื่อใหเห็นถึงแนวโนมตางๆ ได เชน คนที่มี

                  รายไดนอยและการศึกษาต่ํา มักเปนผูที่มีปญหาสุขภาพทางกายและจิต โรคทางเดินหายใจ โรคไขขอ

                  อักเสบ โรคหลอดเลือดหัวใจและโรคจิตเภท เนื่องจากวาคนเหลานั้นแวดลอมไปดวยสิ่งแวดลอมในการ
                  ทํางานที่ไมคอยดีเทาที่ควรและความกดดันในการใชชีวิตสงผลตอการเจ็บปวยทางจิตที่ลวนมาจากสภาพ

                  สังคมที่คนเหลานั้นอาศัยอยูดวย








                                                            55
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61