Page 55 - kpi22173
P. 55
“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”
โดยสามารถเลือกรับขอมูลขาวสารและสื่อการเมืองจากแหลงที่หลากหลาย ทักษะในการวิเคราะหและ
ประเมินขอมูลคือ สามารถแยกความจริงออกจากความเห็น สามารถวิเคราะหความนาเชื่อถือของขอมูล
และการตระหนักในหนาที่พลเมืองคือ สามารถรองเรียนหนวยงานที่เกี่ยวของเมื่อพบเห็นการทําผิด
กฎหมาย สวนตัวชี้วัดเกี่ยวกับการสงขอมูลออก ประกอบดวย การมีทักษะในการผลิตสื่อคือ สามารถเลือก
วิธีการนําเสนอที่เหมาะสมกับวัตถุประสงคและเนื้อหาที่ตองการนําเสนอ การมีสวนรวมในการใชสื่อสังคม
ออนไลนอยางสรางสรรคคือ การเคารพความคิดเห็นที่แตกตาง การโตแยงโดยใชหลักเหตุและผล การใช
ภาษาแบบสันติวิธี การไมใชถอยคําดูหมิ่นผูอื่นและการนําเสนอหรือแชรขอมูลที่เปนประโยชนตอผูอื่นและ
สังคมและการรูสิทธิ หนาที่และความรับผิดชอบตามกฎหมายคือ ไมใชคอมพิวเตอรทํารายหรือละเมิดผูอื่น
สรางหลักฐานที่เปนเท็จ ละเมิดการใชทรัพยากรคอมพิวเตอรโดยที่ตนเองไมมีสิทธิ์และตองคํานึงถึง
ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตอสังคมอันเกิดจากการกระทําของตน
รตนดา อาจวิชัย วิมล เขตตะ และเกียรติศักดิ์ ออนตามา (2562) ศึกษาเรื่อง ผลการใชสื่อ
ใหมแบบ Digital content ที่มีตอพฤติกรรมการเปดรับสารของวัยรุนไทยตอสื่อสารสุขภาพผานสื่อสังคม
ออนไลน ผลการวิจัยพบวา ผลการพัฒนาสื่อใหมแบบ Digital content ที่มีตอพฤติกรรมการเปดรับสาร
ของวัยรุนไทยตอสื่อสารสุขภาพผานสื่อสังคมออนไลน พบวา Facebook page ใหความรูเรื่องสุขภาพชื่อ
Healthy delivery มีคาความสําเร็จของ Page อยูในระดับปานกลาง สวนผลการศึกษาพฤติกรรมการ
เปดรับสารของวัยรุนไทยตอสื่อสารสุขภาพผานสื่อสังคมออนไลนสื่อใหมแบบ Digital content ที่มีตอ
พฤติกรรมการเปดรับสารของวัยรุนไทยตอสื่อสารสุขภาพผานสื่อสังคมออนไลนพบวา สวนใหญมีระยะเวลา
ในการเขาใชสื่อสังคมออนไลนทุกวันตอสัปดาหมากที่สุด รอยละ 75.58 แอปพลิเคชันในการเขาถึงสื่อสังคม
ออนไลน Facebook มากที่สุด รอยละ 88.95 และมีโอกาสไดเห็นขาวสารสุขภาพผานทางสื่อสังคม
ออนไลน 1-2 วัน ตอสัปดาห มากที่สุด รอยละ 33.14 เมื่อพบเจอหรือเห็นขาวสารสุขภาพผานทางสื่อสังคม
ออนไลนแลวกดคลิกเขาไปอานมากที่สุด รอยละ 68.60 โดยมีความคิดเห็นที่มีตอการใชสื่อใหมแบบ
Digital content ที่มีตอพฤติกรรมการเปดรับสารของวัยรุนไทยตอสื่อสารสุขภาพผานสื่อสังคมออนไลน
มีความพึงพอใจในวิธีการนําเสนอขาวสารสุขภาพบน Facebook Fanpage “Healthy delivery” อยูใน
ระดับมาก
อุทัย ยะรี และมัณฑนา สีเขียว (2562) ศึกษาเรื่อง การใชสื่อสังคมออนไลนกับการดูแล
สุขภาพของผูสูงอายุในยุคไทยแลนด 4.0 จากการศึกษาพบวา การใชสื่อสังคมออนไลนเพื่อสงเสริมสุขภาพ
ของผูสูงอายุในปจจุบันมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น ทั้งหนวยงานภาครัฐ เอกชน ตลอดจนหนวยงานชุมชน
ที่เกี่ยวของ ซึ่งมีความสัมพันธกับการดูแลสุขภาพและชวยยกระดับความเปนอยูของผูสูงอายุและผูดูแล
54