Page 54 - kpi22173
P. 54
“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”
ติดตอสื่อสารกับเพื่อน/อาจารย ดาวนโหลดสื่อการสอนและสงการบานรวมทั้งใชเพื่อบันเทิงดวยการดูหนัง
และฟงเพลง ทัศนคติและความคิดเห็นตอผลกระทบของสื่อสังคมออนไลนเปนเชิงบวก โดยเฉพาะดานการ
สื่อสาร ผลการทดสอบสมมุติฐานพบวา ตัวแปรเพศและคณะที่สังกัดตางกัน มีการใชสื่อสังคมออนไลน
เพื่อการเรียนรูไมแตกตางกัน แตใชเพื่อการดําเนินชีวิตแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
สวนนิสิตที่เรียนในชั้นปที่ตางกัน มีการใชเพื่อการเรียนรูแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
แตใชเพื่อดําเนินชีวิตไมแตกตางกัน นอกจากนี้ตัวแปรเพศ คณะและชั้นปที่ตางกัน มีทัศนคติตอสื่อสังคม
ออนไลนไมแตกตางกัน ตัวแปรทัศนคติกับความคิดเห็นตอผลกระทบของการใชงานสื่อสังคมออนไลน
มีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01
อิริยาพร อุดทา (2560) ศึกษาเรื่อง กลยุทธการสื่อสารสุขภาพออนไลนผานสื่อเฟซบุกของ
โรงพยาบาลพญาไท จากการศึกษาพบวา การสื่อสารสุขภาพออนไลนผานสื่อเฟซบุก มีเนื้อหาใหความรู
ทางการแพทยและมีรูปแบบการนําเสนอที่เปนบทความมากที่สุด และสามารถเขาถึงไดทุกชวงวัยทั้งชาย
และหญิง โดยผานการนําเสนอเนื้อหาสุขภาพที่สามารถนําไปประยุกตใชไดในชีวิตประจําวัน จนเกิดเปน
กลุมคนออนไลนที่คอยแบงปนสาระความรูใหแกกันและกัน แลกเปลี่ยนขาวสารผานสื่อสังคมออนไลน
ไดจริงและสามารถนําไปสูการพัฒนาระบบสุขภาพของสังคม ทําใหรูถึงวิธีปองกันโรคและเรียนรูที่จะพึ่งพา
ตนเองและเปนที่พึ่งใหกับผูอื่นได ผลการศึกษาพบวา การสื่อสารสุขภาพออนไลนผานสื่อเฟซบุกแบง
ประเด็นตามวัตถุประสงคดานเนื้อหาเกี่ยวกับการสื่อสารสุขภาพออนไลนผานสื่อเฟซบุกและดานรูปแบบ
การสื่อสารเกี่ยวกับสื่อสุขภาพออนไลนผานสื่อเฟซบุก สวนผลการใชกลยุทธการสื่อสารสุขภาพผานสื่อ
เฟซบุกเพจ พบวา ทําใหกลุมเปาหมายเขามามีปฏิสัมพันธและมีผูเขารับบริการหนาใหมเพิ่มขึ้นดวยการใช
กลยุทธรูปแบบการนําเสนอดวยการใชภาษาที่สื่อสารไดอยางชัดเจนตรงไปตรงมา และไมใชคํายากให
กลุมเปาหมายตีความผิดๆ ไมใชศัพททางการแพทยใหสับสน ผูรับสารอานเขาใจไดในทันทีดวยการนํา
เนื้อหาสุขภาพ รูปภาพประกอบที่ถูกลิขสิทธิ์มานําเสนอผานสื่อเฟซบุก สรางความนาเชื่อถือใหกับ
โรงพยาบาล มีแหลงอางอิงที่ถูกตองดวยการซื้อลิขสิทธิ์อยางถูกกฎหมายและมีประสิทธิภาพ เพื่อสราง
ความเชื่อมั่นใหเกิดกับกลุมเปาหมายใหเกิดทัศนคติเชิงบวก จนนําไปสูการพัฒนาระบบสุขภาพของสังคม
และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในเรื่องสุขภาพตอไปได
ณัฏฐกาญจน ศุกลรัตนเมธี และนุชประภา โมกขศาสตร (2562) ศึกษาเรื่อง การรูเทาทันสื่อ
สังคมออนไลนของเยาวชนเพื่อการเปนพลเมืองในสังคมประชาธิปไตย ผลการศึกษาแบงตัวชี้วัดการรู
เทาทันสื่อสังคมออนไลนของเยาวชนในสังคมประชาธิปไตยแบงออกเปนสองกลุม ไดแก การรับขอมูลเขา
และการสงขอมูลออก โดยตัวชี้วัดเกี่ยวกับการรับขอมูลเขา ประกอบดวย การมีทักษะในการเขาถึงขอมูล
53