Page 59 - kpi22173
P. 59

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  2.6 แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการในภาวะวิกฤติ


                         2.6.1 การใหนิยามเกี่ยวกับการบริหารจัดการในภาวะวิกฤติ


                             การบริหารจัดการในภาวะวิกฤติ คือ กระบวนการที่องคกรพยายามแกปญหากับสถานการณ
                  ความปนปวนและไมคาดคิดมากอน เปนอันตรายตอองคกรหรือบรรดาผูมีสวนไดสวนเสียกับสถานการณ

                  นั้นๆ การศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการในภาวะวิกฤติเกิดมาจากวิกฤติการณดานสิ่งแวดลอมและ

                  อุสาหกรรมขนาดใหญในทศวรรษที่ 1980 ซึ่งถูกมองวาเปนกระบวนการสําคัญที่สุดในงานดานการ

                  ประชาสัมพันธ องคประกอบสําคัญของวิกฤติอยางนอย 3 องคประกอบ ดังนี้ 1) มีภัยเกิดขึ้นกับองคกร

                  2) เปนสถานการณที่ไมคาดคิดวาจะเกิดขึ้นมากอน  3) มีเวลาในการตัดสินใจนอย ซึ่งวิกฤติการณถูกมองวา
                  เปนกระบวนการเปลี่ยนผานลบลางระบบเกาแทนที่ดวยระบบใหมอยางสิ้นเชิง ความเปลี่ยนแปลงจึงเปน

                  สิ่งจําเปนและไมอาจหลีกเลี่ยงได


                             ในขณะที่การบริหารจัดการความเสี่ยง (Risk management) เปนการประเมินภัยคุกคามที่

                  อาจจะเกิดขึ้นและแสวงหาแนวทางที่ดีที่สุดเพื่อหลีกเลี่ยงไมใหเกิดขึ้น สวนการบริหารจัดการในภาวะวิกฤติ

                  (Crisis management) เปนเรื่องของการจัดการกับปญหาและภัยคุกคามนั้น ทั้งกอน ระหวางและหลังของ

                  ปญหาที่เกิดขึ้น ถือวาเปนสาขาวิชาอีกแขนงหนึ่งของสาขาการจัดการ (Management) ซึ่งประกอบดวย
                  ทักษะและเทคนิคในการระบุปญหา ประเมินปญหา ทําความเขาใจปญหาและการแกสถานการณอยาง

                  จริงจัง โดยเฉพาะอยางยิ่งนับจากสถานการณที่เกิดขึ้นแรกเริ่มจนกระทั่งขั้นการฟนฟู/กูสถานการณ เปนตน


                             ในการบริหารจัดการในภาวะวิกฤตินั้น จําเปนตองระบุใหไดวาเปนวิกฤติการณประเภทใด

                  เนื่องจากวิกฤติการณที่แตกตางกันจะมีวิธีการ/ยุทธศาสตรในการบริหารวิกฤติการณที่แตกตางกันออกไป
                  โดยวิกฤติการณที่อาจจะเกิดขึ้นไดนั้นมีอยูมากมาย แตวิกฤติการณก็สามารถจัดกลุมเพื่อใหงายตอ

                  การศึกษาได เชน วิกฤติการณภัยธรรมชาติ วิกฤติการณดานเทคโนโลยี วิกฤติการณการเผชิญหนา

                  วิกฤติการณผูประสงคราย การกระทําผิดขององคกร ความรุนแรงในที่ทํางาน วิกฤติการณขาวลือ การจูโจม

                  ของผูกอการราย เปนตน

                             ในปจจุบันมีประเด็นเกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลนกับการบริหารจัดการในภาวะวิกฤติ ในยุคที่สื่อ

                  สังคมออนไลนเปนตัวกระตุนและเรงความเร็วของขอมูลขาวสารที่เกี่ยวของกับวิกฤติการณนั้นใหสามารถ

                  แพรกระจายไดอยางรวดเร็ว ผลกระทบของเครือขายทางสังคม เชน Facebook, Twitter ที่ผูมีสวนได

                  สวนเสียสามารถใชเพื่อกระจายขาวไดไวกวาสื่อแบบดั้งเดิม สงผลใหการบริหารจัดการวิกฤติการณลําบาก

                  มากขึ้น อยางไรก็ตาม ความรวดเร็วเชนนี้หากทีมบริหารจัดการวิกฤติการณนั้นไดรับการฝกและมีนโยบาย







                                                            58
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64