Page 62 - kpi22173
P. 62

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  ไมสามารถกลาวไดวาระบอบเผด็จการโดยพฤตินัยสามารถจัดการวิกฤติการณไดดีไปกวาระบอบอื่นๆ

                  แตอยางใด โดยระบอบเผด็จการในบางกรณียังเปดโอกาสใหนักการเมืองฝายคานมีบทบาทและมีพื้นที่มาก

                  ขึ้นในการออกแบบและดําเนินนโยบายดานสาธารณสุข รวมไปถึงการเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจของ

                  ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานในระบบราชการที่ผลักดันการดําเนินนโยบายตามแนวทางวิทยาศาสตรเพื่อจัดการ

                  กับวิกฤติการณซึ่งมีแนวโนมเขามามีอํานาจมากขึ้นและดูเหมือนวาจะสามารถจัดการสถานการณวิกฤติ

                  ไดอยางมีประสิทธิภาพมากกวาระบอบเผด็จการอํานาจนิยมเสียเอง ในระยะยาวอาจเปนภัยคุกคามความ
                  อยูรอดทางการเมืองและเศรษฐกิจของฝายรัฐบาลในอนาคตได



                  2.7 แนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวม


                         2.7.1 การใหนิยามเกี่ยวกับการมีสวนรวม


                             นักวิชาการในประเทศอยาง บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และถวิลวดี บุรีกุล (2552) ไดใหทัศนะ
                  เกี่ยวกับการมีสวนรวมไวอยางนาสนใจความวา เปนการเปดโอกาสใหบุคคลไดแสดงความคิดเห็นและมีสวน

                  ในการตัดสินใจในเรื่องตางๆ ที่มีผลตอชีวิตความเปนอยู เพื่อใหการตัดสินใจของภาครัฐมีความรอบคอบ

                  และสอดรับกับปญหา รวมทั้งเปนการควบคุมการบริหารงานภาครัฐใหมีความโปรงใส ตอบสนองตอปญหา

                  และความตองการของพลเมือง มีความรับผิดชอบและตรวจสอบได ซึ่งเทากับเปนการสงเสริมการปกครอง

                  ระบอบประชาธิปไตยใหมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคลองกับการใหคําจํากัดความที่ปรากฏใน

                  ฐานขอมูลของสถาบันพระปกเกลา (2559) ความวา “การมีสวนรวม” เปนการเปดโอกาสใหประชาชนได
                  มีสวนรวมในทุกขั้นตอนของการพัฒนาทั้งในการแกไขปญหาและปองกันปญหาโดยเปดโอกาสใหมีสวนรวม

                  ในการคิดริเริ่ม รวมกําหนดนโยบาย รวมวางแผน รวมตัดสินใจและปฏิบัติตามแผน รวมตรวจสอบการใช

                  อํานาจรัฐทุกระดับ รวมติดตามประเมินผลและรับผิดชอบในเรื่องตางๆ อันมีผลกระทบถึงประชาชน ชุมชน

                  และเครือขายทุกรูปแบบในพื้นที่


                         2.7.2 เงื่อนไขพื้นฐานของการมีสวนรวม

                             นักวิชาการอยาง ถวิลวดี บุรีกุล (2552) ไดระบุเงื่อนไขพื้นฐานการมีสวนรวม ประกอบดวย

                                 1) การมีอิสรภาพในการเขารวม หมายถึง การเขารวมตองเปนไปดวยความสมัครใจ

                                 2) ความเสมอภาคในการเขารวมกิจกรรม หมายถึง ทุกคนที่เขารวมตองมีสิทธิเทาเทียมกัน

                                 3) มีความสามารถในการเขารวมกิจกรรม หมายถึง มีความเขาใจในเรื่องนั้นๆ แตหาก
                  กิจกรรมที่เขารวมมีความยากหรือมีความซับซอนเกินความสามารถของผูเขารวม หนวยงานที่เกี่ยวของ

                  จําเปนตองพัฒนาศักยภาพเพื่อใหสามารถเขามามีสวนรวมได






                                                            61
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67