Page 67 - kpi22173
P. 67

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  ทั้งในภาพรวมและรายดานยอย  4) เจาหนาที่สาธารณสุขและผูนําชุมชนมีความคาดหวังตอบทบาทของ

                  อสม. ในงานสาธารณสุขมูลฐานโดยภาพรวมไมแตกตางกัน  5) หัวหนาครัวเรือนเห็นวา อสม. มีการ

                  ปฏิบัติงานจริงสูงกวาความเห็นของเจาหนาที่สาธารณสุขและผูนําชุมชนทั้งในภาพรวมและรายดานยอย

                  จํานวน 5 ดานใน 8 ดานคือ ดานการสํารวจขอมูล ดานการใหบริการสุขภาพ ดานการสงตอผูปวยไปยัง

                  สถานพยาบาลของรัฐ ดานการเฝาระวังโรคในชุมชนและดานการใหความรูกับชาวบาน


                             เพ็ญนที อินตา (2555)  ศึกษาเรื่อง การมีสวนรวมในการปฏิบัติงานดานสาธารณสุขมูลฐาน
                  ของอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ตําบลหนองปลาไหล อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี จากผลการศึกษา

                  พบวา ระดับการมีสวนรวมในการปฏิบัติงานดานสาธารณสุขมูลฐานในภาพรวมอยูในระดับมาก โดย

                  อาสาสมัครสาธารณสุขมีสวนรวมในดานการติดตามประเมินผลสูงเปนอันดับแรก รองลงมาคือ ดานการ

                  ปฏิบัติตามแผนงาน เมื่อเปรียบเทียบคาเฉลี่ยการมีสวนรวมพบวา เพศหญิงมีระดับการมีสวนรวมมากกวา

                  เพศชาย ประชาชนที่ไมไดเรียนหนังสือ มีระดับการมีสวนรวมมากเปนอันดับแรก ประชาชนที่มีสถานภาพ
                  หมาย มีระดับการมีสวนรวมมากเปนอันดับแรก ประชาชนที่มีอาชีพทํางานบาน มีระดับการมีสวนรวมมาก

                  เปนอันดับแรก ประชาชนที่มีรายไดตอเดือน 5,001-10,000 บาท มีระดับการมีสวนรวมมากเปนอันดับแรก

                  ประชาชนที่มีระยะเวลาปฏิบัติงาน 6-10 ป มีระดับการมีสวนรวมมากเปนอันดับแรก ประชาชนที่ผูนํา

                  ในชุมชนคัดเลือกเขามามีระดับการมีสวนรวมเปนอันดับแรก


                             กัญณภัทร วศะวัน (2557)  ศึกษาเรื่อง การมีสวนรวมของประชาชนและการดําเนินงาน

                  ปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของสาธารณสุขจังหวัดพะเยา ในเขตพื้นที่ตําบลแมกา จังหวัดพะเยา
                  ผลการศึกษาพบวา การมีสวนรวมของประชาชนและการดําเนินงานปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก

                  โดยรวม 5 ดาน มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดานจากมากไปหานอย ไดแก ดานการ

                  จัดการสิ่งแวดลอม ดานการประชาสัมพันธ ดานการปองกันสวนบุคคล ดานการติดตามผลการปองกันและ

                  ควบคุมโรคและดานการควบคุมการระบาดของโรค ขอเสนอแนะในการวิจัยคือ หนวยงานสาธารณสุขควร

                  จัดหากลยุทธใหมๆ เพื่อใหประชาชนเขารวมกิจกรรมกําจัดยุงลาย ประสานเครือขายในชุมชน เชน

                  อาสาสมัครสาธารณสุขใหมีสวนรวมอยางตอเนื่อง

                             กิตติ วงศปทุมทิพย (2560)  ศึกษาเรื่อง การมีสวนรวมของอาสาสมัครสาธารณสุขประจํา

                  หมูบานในการปองกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา อําเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม ผลการวิจัยพบวา

                  การมีสวนรวมในการปองกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน

                  อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานมีคะแนนเฉลี่ยการ

                  มีสวนรวมอยูในระดับมาก เรียงจากมากไปหานอยคือ ดานการประชาสัมพันธ ดานการเฝาระวังโรคและ





                                                            66
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72