Page 68 - kpi22173
P. 68

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  ดานการปองกันและควบคุมโรคและกลุมอายุ การไดรับการอบรมที่ตางกันมีระดับการมีสวนรวมในการ

                  ปองกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานที่แตกตางกัน อายุและ

                  การเคยเขารับการอบรม มีผลตอการมีสวนรวมในการปองกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา


                             ในงานเขียนของ Matoff-Stepp, Applebaum, Pooler, and Kavanagh (2014) ในเรื่อง

                  Women as health care decision-makers: implications for health care coverage in the United

                  States กลาวถึงบทบาทของสตรีในการตัดสินใจวาจะรับบริการดานสุขภาพในรูปแบบใดดวยตนเอง ซึ่งการ
                  ตัดสินใจของสตรีในฐานะภรรยาและมารดา การตัดสินใจของสตรีนั้นๆ ลวนสงผลกระทบตอการตัดสินใจ

                  เลือกรับบริการดานสุขภาพของสมาชิกครอบครัวคนอื่นๆ ดวย จากการศึกษาพบวา สตรีในสหรัฐอเมริกา

                  เปนผูตัดสินใจประมาณรอยละ 80 ในการดูแลสุขภาพของคนในครอบครัววาจะเลือกซื้อบริการดานสุขภาพ

                  อยางไร แตในบางครั้งกลับเลือกบริการสุขภาพที่ไมไดครอบคลุมสุขภาพบางดานของตนเอง ซึ่งที่ผานมา

                  ขอกําหนดของ Affordable Care Act มีผลทําใหสตรีสามารถเขาถึงบริการสุขภาพไดมากขึ้น ดังนั้นการ
                  มีบทบาทความเปนผูนําของสตรีในบริบทที่สามารถเขาไปมีสวนรวมในการตัดสินใจดานการดูแลสุขภาพ

                  และการใหความรูและการประชาสัมพันธและการเขาไปมีสวนในการพัฒนากฎหมายสุขภาพ การควบคุม

                  ราคาใหสามารถเขาถึงได ซึ่งอาจสงผลดีตอการบรรลุเปาหมายดานสุขภาพและสังคมที่กวางขึ้น


                             ในงานเขียนของ MacCormack (1992) เรื่อง Planning and evaluating women's

                  participation in primary health care กลาวถึงการวางแผนและการประเมินการมีสวนรวมของสตรี

                  ในวงการสาธารณสุขมูลฐาน อันเนื่องจากวาการวางแผนที่เกี่ยวของกับเพศสภาพนั้นมักถูกใชในวงการ
                  สาธารณสุขมูลฐาน งานวิจัยของ MacCormack มองวาการสงเสริมบทบาทสตรีใหเขามามีสวนรวม

                  ในโครงการดานสุขภาพและการพัฒนาถือวาเปนกระบวนการเสริมสรางพลังใหแกสตรีมากขึ้นได


                             งานเขียนของ Rezakhani Moghaddam, Allahverdipour, Musavi, Shekarchi, and

                  Matlabi (2019) ในเรื่อง Why People Choose to Volunteer? Women Health Volunteers' Activities,

                  Reasons for Joining and Leaving ทําการศึกษาบทบาทสตรีอาสาสมัครดานสุขภาพในประเทศอิหราน

                  โดยใหความเห็นวา อาสาสมัครดานสุขภาพสตรีคือ จุดเชื่อมโยงระหวางคนในชุมชนกับผูทํางานในวงการ
                  สุขภาพ อาสาสมัครดานสุขภาพสตรีแสดงบทบาทที่สําคัญในกิจกรรมการใหความรูดานสุขภาพ การติดตาม

                  สุขภาพของครอบครัวที่สวัสดิการดานสุขภาพไมไดครอบคลุม รวมไปถึงการอัปเดตขอมูลดานประชากรใหแก

                  ศุนยสุขภาพ  โดยศึกษาครอบคลุม 3 มิติหลักๆ คือ ดานการมีสวนรวมในการสงเสริมสุขภาพ ดานการรับรู

                  ประโยชนที่ไดจากการเขารวมและสิ่งแวดลอมที่เปนตัวยับยั้งในการเขารวมหรือสงผลใหตองออกจากการ

                  เปนอาสาสมัคร  ผลวิจัยสรุปไววา การสรางวัฒนธรรมเกี่ยวกับบทบาทของอาสาสมัครดานสุขภาพ การให





                                                            67
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73