Page 65 - kpi22173
P. 65

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  การมีสวนรวมของอาสาสมัครสาธารณสุขโดยรวมและในดานการวางแผนการปฏิบัติงาน ดานการ

                  ดําเนินงาน ดานการประสานงาน และดานการประเมินผล อยูในระดับปานกลาง ปจจัยพื้นฐานสวนบุคคล

                  ไดแก เพศ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ และวิธีเขามาเปน อสม. พบวา มีความสัมพันธ

                  กับการมีสวนรวมในการปฏิบัติงาน


                             สุพินดา เกิดมาลี (2547)  ศึกษาเรื่อง การมีสวนรวมทางการเมืองของสตรีในเขตพื้นที่องคการ

                  บริหารสวนตําบล อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร  ผลการวิจัยพบวา สตรีมีสวนรวมทางการเมือง
                  อยูในระดับนอย  ปจจัยสวนบุคคลที่มีผลตอการมีสวนรวมทางการเมืองของสตรี ในเขตพื้นที่องคการ

                  บริหารสวนตําบลเขตอําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร  อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ไดแก

                  ระดับการศึกษา อาชีพ การรวมประชุม การเปนสมาชิกกลุมทางสังคมและการรับรูขาวสารทางการเมือง

                  สวน อายุ รายไดเฉลี่ยตอเดือน ระยะเวลาที่เขาอยูอาศัยในพื้นที่ ไมมีผลตอการมีสวนรวมทางการเมือง

                  อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05


                             อาภรณ เกียรติขจรพันธุ (2547) ศึกษาเรื่อง ปจจัยที่สงผลตอการมีสวนรวมของสตรีในงาน
                  อาสาสมัครสาธารณสุข : กรณีศึกษาอาสาสมัครสาธารณสุขตําบลบางพระ จังหวัดชลบุรี ผลการศึกษา

                  พบวา ปจจัยที่มีผลกับการมีสวนรวมในงานอาสาสมัครสาธารณสุข ไดแก อายุ การฝกอบรม ระยะเวลา

                  ในการเปนอาสาสมัครสาธารณสุข รายได สตรีมีสวนรวมในงานอาสาสมัครสาธารณสุขในระดับสูงทุกดาน

                  ตามลําดับคือ การมีสวนรวมในการปฏิบัติตามแผนงาน การมีสวนรวมในการวางแผนและตัดสินใจ

                  การมีสวนในการรับผลประโยชน การมีสวนรวมในการติดตามและประเมินผล ปญหาอุปสรรคในการมีสวน
                  รวมในงานอาสาสมัครสาธารณสุข ไดแก ปญหาภายในขององคกรอาสาสมัครสาธารณสุข สภาพแวดลอม

                  ในการดําเนินงาน ปญหาในการแบงละแวกบานที่รับผิดชอบและปญหาอื่นๆ ไดแก การขาดแคลนพาหนะ

                  ในการปฏิบัติหนาที่ สําหรับขอเสนอแนะเชิงนโยบายคือ เจาหนาที่สาธารณสุขในระดับตําบล อําเภอ

                  จังหวัดและผูบริหารสวนกลาง ควรเสนอแนวทางในการสรางแรงจูงใจใหกับอาสาสมัครสาธารณสุขทุกชวง

                  วัยมีสวนรวมในการปฏิบัติหนาที่และเสนอใหมีสิทธิพิเศษเพิ่มเติมใหแกอาสาสมัครสาธารณสุขที่ทําหนาที่

                  ครบ 10 ป และ 20 ป สงเสริมสนับสนุนใหความรูและเพิ่มทักษะในการปฏิบัติหนาที่และปลูกฝงแนวคิด

                  ของ อสม. ใหสอดคลองกับแนวคิดการกระจายการบริหารจัดการดานสุขภาพภาคประชาชน

                             สุดา ดวงพระทัย (2549)  ศึกษาเรื่อง บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.)

                  ในเขตเมือง กรณีศึกษาเทศบาลตําบลแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ผลการศึกษาพบวา อาสาสมัครสาธารณสุข

                  ประจําหมูบาน มีความรูความเขาใจในบทบาทของตนเองแตกตางกันตามเพศ ระดับการศึกษา สถานภาพ

                  สมรส อาชีพ รายไดและระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในตําแหนง





                                                            64
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70