Page 73 - kpi22173
P. 73

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                                 เกณฑสําหรับการตัดสินในการประเมินใชคา IOC ตั้งแต 0.67-1.00 (บุญชม ศรีสะอาด,

                  2545) สําหรับใชเปนเกณฑในการตัดสินวามีความตรงเชิงเนื้อหาระหวางขอคําถามกับวัตถุประสงคจากนั้น

                  นําแบบสอบถามมาหาคาดัชนีความสอดคลองระหวางขอคําถามและวัตถุประสงค (IOC) ระหวางวันที่ 25
                  ธันวาคม 2563 ถึงวันที่ 5 มกราคม 2564 ไดคา IOC = 0.95


                                 5) นําแบบสอบถามมาหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) โดยทดลองใชแบบสอบถามกับ
                  อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานที่ไมใชกลุมตัวอยาง จํานวน 30 ชุด ระหวางวันที่ 6-11 มกราคม

                  2564 แลวนําแบบสอบถามมาวิเคราะหหาคาความเชื่อมั่น โดยใชสูตรการหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha

                  coefficient) ของ Cronbach (1990)  ซึ่งคาความเชื่อมั่นมีคาอยูระหวาง 0-1 คาที่เขาใกล 1 แสดงวา
                  มีความเชื่อมั่นสูง โดยคาเหมาะสมควรมีคามากกวา 0.70 ขึ้นไป จึงจะสามารถยอมรับได (กัลยา วานิชย

                  บัญชา และฐิตา วานิชยบัญชา, 2558) ไดคา Alpha = 0.805

                                 6) ปรับปรุงแบบสอบถามและนําไปใชเก็บขอมูลกับกลุมตัวอยางจริงที่เปนสตรีอาสาสมัคร

                  สาธารณสุขประจําหมูบานตอไป

                         3.1.3 การเก็บรวบรวมขอมูล

                             ผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลจากสตรีอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานที่เปนกลุม
                  ตัวอยาง การแจกแบบสอบถามใชวิธีเจาะจงแจกสตรีอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในพื้นที่ตําบล

                  สุเทพ ตําบลแมเหียะ ตําบลฟาฮาม และตําบลทาศาลา อําเภอเมืองเชียงใหม จังหวัดเชียงใหม ตามจํานวน

                  ที่กําหนดไวในขั้นตอนการคัดเลือกกลุมตัวอยาง จํานวน 250 ชุด เก็บแบบสอบถามดวยตนเองและจัดสง
                  ทางไปรษณีย จํานวน 250 ชุด ระหวางวันที่ 15 มกราคม 2564 ถึงวันที่ 15 กุมภาพันธ 2564 ไดรับ

                  แบบสอบถามสมบูรณกลับคืนมา จํานวน 220 ชุด คิดเปนรอยละ 88.00 ของแบบสอบถามที่สงออก
                  ทั้งหมด


                         3.1.4 การวิเคราะหขอมูล
                             วิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามพฤติกรรมสารสนเทศทางดานสุขภาพ ปญหาและอุปสรรค

                  ในการแสวงหาและการใชสารสนเทศดานสุขภาพของสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการ

                  ใหความรูแกชุมชนเพื่อปองกัน เฝาระวังและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ
                  ใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม โดยใชแบบมาตรประมาณคา 5 ระดับ ตามมาตรวัดของลิเคิรต (Likert

                  scale) ใชสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) ประกอบดวย คาความถี่ (Frequency) คารอยละ

                  (Percentage) คาเฉลี่ย (Mean) คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) เพื่อทราบความรู
                  พื้นฐานทางดานสุขภาพของสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการใหความรูแกชุมชน โดยใช

                  โปรแกรมสถิติทางสังคมศาสตร นําเสนอขอมูลในรูปแบบตารางควบคูกับการบรรยายและไดกําหนดการให
                  คะแนนคําตอบของแบบสอบถาม (บุญชม ศรีสะอาด, 2553) ดังนี้






                                                            72
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78