Page 53 - kpi22173
P. 53

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                         2.4.3 งานวิจัยที่นําแนวคิดสื่อสังคมออนไลนไปใช


                             ทรียาพรรณ สุภามณี และกาญจนา ธานะ (2558) ศึกษาเรื่อง สื่อสังคมออนไลนกับขอควร

                  พึงคํานึงสําหรับพยาบาล  ผลการศึกษาพบวา สื่อสังคมออนไลนเขามามีบทบาทสําคัญกับการใชชีวิต

                  ประจําวัน พยาบาลเปนกลุมวิชาชีพที่มักจะไดรับผลกระทบจากการใชเทคโนโลยีในการสื่อสารทั้งดานการ
                  ทํางานและการใชชีวิตสวนตัว  ดังนั้นเพื่อเปนการปองกันเหตุการณที่เกี่ยวของกับการลวงละเมิดสิทธิของ

                  ผูปวย พยาบาลควรมีการพิจารณาไตรตรองใหถวนถี่กอนที่จะมีการสื่อสารดวยสื่อ ขอความหรือรูปภาพ

                  ผานสื่อสังคมออนไลนบนเครือขายอินเทอรเน็ต


                             นิธิดา วิวัฒนพาณิชย (2558) ศึกษาเรื่อง การพัฒนาทักษะการรูเทาทันสื่อสังคมออนไลน
                  เปนการนําเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการรูเทาทันสื่อสังคมออนไลน องคประกอบของทักษะการรูเทาทันสื่อ

                  สังคมออนไลน วิธีการสอนและรูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการรูเทาทันสื่อสังคมออนไลน

                  ผลการศึกษาพบวา การใชสื่อสังคมออนไลนเปนกิจกรรมในวิถีชีวิตของพลเมืองดิจิทัลในยุคปจจุบัน

                  เพื่อติดตอสื่อสารแลกเปลี่ยนขอมูล นําเสนอตัวตน ตลอดจนนํามาใชเพื่อสรางการเรียนรู สรางรายได

                  ดังนั้น ทุกคนจึงควรเรียนรูการใชงานสื่อสังคมออนไลนอยางมีประสิทธิภาพและรูเทาทันสื่อทั้งในบริบทของ

                  ผูรับสารและผูสงสารดวย

                             สิทธิชัย คูเจริญสิน (2559)  ศึกษาเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมการใชสื่อสังคมของผูสูงอายุที่พัก

                  อาศัยในเขตอําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี  ผลการศึกษาพบวาพฤติกรรมการใชสื่อสังคมในภาพรวมอยูในระดับ

                  ปานกลาง โดยพฤติกรรมการใชสื่อสังคมดานประโยชน อยูในระดับมาก ดานอุปกรณ ดานวัตถุประสงค

                  อยูในระดับปานกลาง ดานโปรแกรมและดานอุปสรรคในการใชสื่อสังคมออนไลนอยูในระดับนอย

                  ผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนดานเศรษฐกิจ ไดแก ใชเงินเปนคาบริการโทรศัพท/อินเทอรเน็ต
                  จํานวนมาก ดานสังคม ไดแก มีการติดตอสื่อสารกับคนในครอบครัวเพิ่มขึ้น ดานอารมณและจิตใจ ไดแก

                  คลายความเครียดจากกิจกรรมอื่น และดานสุขภาพ ไดแก ไดขอมูลที่เปนประโยชนดานการดูแลสุขภาพ

                  ทั่วไป


                             จุฑารัตน ศราวณะวงศ  ขจร ฝายเทศ  ดวงแกว เงินพูนทรัพย และวัลลภา จันทรดี (2560)
                  ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการใชสื่อสังคมออนไลนของนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

                  ผลการศึกษาพบวา นิสิตสวนใหญมีประสบการณในการใชสื่อสังคมออนไลนมากกวา 7 ป ขึ้นไป ประเภท

                  สื่อสังคมออนไลนที่ใชมากที่สุดคือ Line, YouTube, Facebook และไมเคยใช LinkedIn นิสิตสวนใหญ

                  ใชสื่อสังคมออนไลนผานสมารตโฟนโดยใชงานทั้งวันและใชมากที่สุดชวงเวลา 6 โมงเย็นถึง 3 ทุม

                  วัตถุประสงคการใชเพื่อการเรียนรูมากกวาเพื่อการดําเนินชีวิตประจําวัน ซึ่งไดแก เพื่อทํางานกลุม





                                                            52
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58