Page 51 - kpi22173
P. 51

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  สารสนเทศที่เปนบุคคล แหลงสารสนเทศสื่อมวลชน แหลงสารสนเทศหนวยงาน แหลงสารสนเทศทาง

                  อินเทอรเน็ต ตลอดจนปญหาในการแสวงหาสารสนเทศดานสุขภาพที่เกิดจากผูสืบคนเอง


                             กฤษณาพร ทิพยกาญจนเรขา และคณะ (2560) ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการแสวงหาขอมูล

                  สุขภาพจากสื่อออนไลนและสื่อสังคมของผูสูงอายุตามระดับการรับรูภาวะสุขภาพ ผลการศึกษาพบวา
                  ผูสูงอายุโดยรวมรับรูภาวะสุขภาพตนเองวา อยูในระดับดี มีการแสวงหาขอมูลสุขภาพผานสื่อออนไลน/สื่อ

                  สังคมอยูในระดับต่ํา ประเด็นขอมูลสุขภาพที่ทําการสืบคนบอยใน 3 ลําดับแรก ไดแก แบบแผนการใชชีวิต

                  เพื่อการมีสุขภาพดี การรักษาโรคและขอมูลการใชยา การแสวงหาขอมูลสุขภาพจากสื่อออนไลน/สื่อสังคม

                  ในกลุมผูสูงอายุที่สุขภาพไมดี กลุมผูสูงอายุที่สุขภาพปานกลางและกลุมผูสูงอายุที่สุขภาพดี พบวา

                  กลุมผูสูงอายุที่สุขภาพดีแสวงหาขอมูลสุขภาพจากสื่อออนไลน/สื่อสังคมสูงกวากลุมผูสูงอายุที่มีสุขภาพ

                  ปานกลาง และพบวาขนาดอิทธิพลของการรับรูภาวะสุขภาพตอการแสวงหาขอมูลสุขภาพจากสื่อออนไลน/

                  สื่อสังคมของผูสูงอายุจัดอยูในระดับนอย หนวยงานที่มีหนาที่เกี่ยวของกับผูสูงอายุควรสงเสริมใหสามารถ
                  เขาถึงขอมูลความรูสุขภาพผานสื่อออนไลน/สื่อสังคมและการนําขอมูลไปใชไดอยางเต็มประสิทธิภาพ


                             จักรกฤษณ วังราษฎร และคณะ (2561) ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการแสวงหาขอมูลดานสุขภาพ

                  เพื่อใชในการดูแลผูสูงอายุในพื้นที่ตําบลเชิงดอย อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม ผลการศึกษาพบวา

                  สวนใหญมีความตองการขอมูลสุขภาพเพื่อนําไปใชในการดูแลผูสูงอายุในประเด็นเกี่ยวกับการจัดการโรค
                  และความเจ็บปวยที่ผูสูงอายุเปนอยู การสงเสริมสุขภาพและปองกันโรคในผูสูงอายุ การแพทยทางเลือก

                  และการบําบัดแบบเสริม อาหาร สมุนไพรและผลิตภัณฑอื่นๆ ที่ชวยรักษาโรคและสงเสริมสุขภาพ สถาน

                  บริการดานสุขภาพและสาธารณสุข  โดยแสวงหาขอมูลจากแหลงขอมูลประเภทบุคคล สื่อสารมวลชน

                  สื่อสังคมออนไลน สื่อสิ่งพิมพ และเมื่อพิจารณาแยกตามแหลงขอมูลแตละประเภทพบวา แหลงขอมูล

                  ประเภทบุคคล ไดแก เพื่อนบาน ผูปวยหรือผูที่เคยมีประสบการณในเรื่องที่เกี่ยวของ อาสาสมัครสาธารณสุข
                  บุคลากรทางการแพทยและปราชญชาวบาน สวนแหลงขอมูลประเภทสื่อสารมวลชน สวนใหญเลือกใช

                  สื่อโทรทัศนและวิทยุ ในสวนของแหลงขอมูลประเภทสื่อสังคมออนไลน  กลุมตัวอยางสวนใหญเลือกใช

                  แอปพลิเคชัน Line, Facebook และเว็บไซต  สําหรับสื่อสิ่งพิมพที่เลือกใชมากที่สุด ไดแก แผนพับหรือ

                  เอกสารที่ไดจากหนวยงานราชการ นิตยสาร วารสาร หนังสือพิมพและหนังสือวิชาการ แรงจูงใจที่ทําให

                  แสวงหาขอมูล ไดแก การเผชิญปญหาหรือสถานการณเกี่ยวกับโรคและความเจ็บปวยในผูสูงอายุที่ตนดูแล

                  ความวิตกกังวลเกี่ยวกับสุขภาพของผูสูงอายุที่ตนเองดูแล ตองการสงเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตของ

                  ผูสูงอายุที่ตนเองดูแลและเพิ่มพูนความรูในการดูแลผูสูงอายุ  ผลการศึกษายังพบวา สวนใหญนําขอมูล
                  ที่แสวงหามาไดไปใชกับผูสูงอายุทันที โดยไมไดคิดวิเคราะหเพิ่มเติมหรือหาขอมูลเพิ่มเติมจากแหลงขอมูล







                                                            50
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56