Page 47 - kpi22173
P. 47

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                                 ขั้นตอนที่ 5 : ขั้นตอนการรวบรวม (Collection) ขั้นตอนนี้จะรูสึกมีความมั่นใจกับ

                  สารสนเทศที่ไดรับและจะเพิ่มความมั่นใจมากขึ้น เมื่อการแสวงหาสารสนเทศประสบความสําเร็จ

                                 ขั้นตอนที่ 6 : ขั้นตอนการปดการคนหา (Search closure) หรือขั้นตอนการนําเสนอเปน

                  ขั้นตอนสุดทายเมื่อการแสวงหาสารสนเทศสิ้นสุดลง ผูแสวงหาสารสนเทศจะสรุปและรายงานสารสนเทศ

                  ที่พบผานกระบวนการนี้ จะรูสึกพึงพอใจหรือผิดหวังก็จะขึ้นอยูกับผลการแสวงหาสารสนเทศที่ได


                                 ตอมาในป ค.ศ. 2004 Kuhlthau ไดปรับปรุงและพัฒนากระบวนการคนหาสารสนเทศ
                  (Information search process (ISP)) ดังนี้


                                 ขั้นตอนที่ 1 : ขั้นตอนการเริ่มตน (Initiation) กระบวนการแสวงหาสารสนเทศของบุคคล
                  เริ่มตนขึ้นเมื่อบุคคลไดตระหนักถึงชองวางในความรูหรือการขาดความเขาใจ ซึ่งเมื่อเกิดความรูสึกไมแนใจ

                  หรือไมเขาใจตอปญหาบางอยาง ณ จุดนี้เองทําใหบุคคลตระหนักถึงความตองการสารสนเทศในแสวงหา

                  สารสนเทศเพื่อนํามาแกปญหา

                                 ขั้นตอนที่ 2 : ขั้นตอนการคัดเลือก (Selection) ในขั้นตอนที่สอง การคัดเลือกคือ

                  การระบุและเลือกเรื่องที่จะตรวจสอบและคนหาอยางกวางๆ หลังจากเลือกแนวทางแสวงหาสารสนเทศ

                  ไดแลวก็พรอมที่จะคนหาสารสนเทศทันที หากมีเหตุที่ทําใหการเลือกวิธีการคนหาลาชาหรือเลื่อนออกไป

                  จะทําใหเกิดความรูสึกวิตกกังวลและมีแนวโนมรุนแรงมากขึ้นจนกวาจะมีวิธีเลือกการคนหาใหม

                                 ขั้นตอนที่ 3 : ขั้นตอนการสํารวจ (Exploration) ขั้นตอนนี้ทําใหเกิดความสับสน

                  คลุมเครือ ความไมแนใจจะเพิ่มขึ้นมากในชวงเวลานี้ ซึ่งผูคนหาสารสนเทศจะตองตรวจสอบสารสนเทศ

                  ในเรื่องตางๆ อยางกวางๆ เพื่อกอใหเกิดความเขาใจสวนบุคคล ในขั้นตอนนี้การขาดความสามารถในการ

                  ที่ระบุสารสนเทศที่ตองการไดอยางถูกตอง ทําใหกระบวนการคนหาสารสนเทศลาชาออกไป การสํารวจ
                  ถือเปนขั้นตอนที่ยากที่สุดในกระบวนการคนหาสารสนเทศ


                                 ขั้นตอนที่ 4 : ขั้นตอนการกําหนด (Formulation) ในกระบวนการคนหาสารสนเทศ
                  เมื่อความรูสึกไมแนใจลดลงก็จะทําใหเกิดความมั่นใจเพิ่มขึ้น เมื่อสามารถกําหนดกรอบแนวคิดของเรื่อง

                  จากสารสนเทศที่คนหาไดแลวทําใหเขาใจประเด็นที่คลุมเครือไดชัดเจนขึ้น

                                 ขั้นตอนที่ 5 : ขั้นตอนการรวบรวม (Collection) เมื่อเกิดการโตตอบระหวางผูใชและ

                  ระบบสารสนเทศดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากที่สุด ณ จุดนี้ผูใชจะรวบรวมสารสนเทศ

                  ที่เกี่ยวของ ในขณะที่การกําหนดหัวขอเรื่องจะชัดเจนมากขึ้นและสามารถระบุความตองการสารสนเทศได

                  เฉพาะเจาะจงยิ่งขึ้น เกิดความเชื่อมั่นมากขึ้น ประเด็นความคลุมเครือจะลดลง








                                                            46
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52