Page 43 - kpi22173
P. 43
“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”
พยายามใหนอยที่สุดคือ เมื่อบุคคลตองการสารสนเทศทําใหเกิดการแสวงหาสารสนเทศ โดยเลือก
แหลงสารสนเทศใกลๆ ตัว หาแบบงายๆ สะดวกสบาย แมสารสนเทศที่ไดอาจจะดอยคุณภาพ ซึ่งบุคคล
มีแนวโนมที่จะแสวงหาสารสนเทศจากแหลงสารสนเทศที่เขาถึงไดงาย สะดวก รวดเร็ว (Borgman, 2000;
Mann, 1993) ทั้งนี้ Pickard (2007) เชื่อวา พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศและการคนคืนเปนความ
สามารถในการคนหาสารสนเทศจากแหลงสารสนเทศที่เหมาะสม ตรวจสอบไดวาสารสนเทศที่ไดรับนั้น
มีประสิทธิภาพหรือไม สามารถแยกแยะสารสนเทศที่ไดรับเพื่อนํามาใชประโยชน สวน อารีย ชื่นวัฒนา
(2545) พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเปนกิจกรรมหรือปฏิสัมพันธที่บุคคลนั้นกระทําเพื่อมีจุดมุงหมาย
หรือเพื่อสนองความตองการในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยการคนหาสารสนเทศเปนพฤติกรรมของการแสวงหา
สารสนเทศ โดยกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ ประกอบดวย การตระหนักและยอมรับปญหา การระบุ
และเขาใจปญหา การเลือกระบบคนหา การกําหนดขอคําถาม การดําเนินการคนหา การตรวจสอบผลลัพธ
การดึงสารสนเทศที่ตองการและการพิจารณาคนหาซ้ํา ยุติการคนหา การคนหาสารสนเทศยากที่จะสําเร็จ
สมบูรณดวยการใชขอคําถามเพียงขอเดียวหรือไดรับผลการคนหาเพียงชุดเดียว โดยทั่วไปแลวผูใช
สารสนเทศจะนําผลการคนหามาเปนผลปอนกลับในการกําหนดขอคําถามใหมเพื่อดําเนินการคนหาซ้ําอีก
ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ (Models of information-seeking behaviour
) มีจํานวนหลากหลายตัวแบบ เชน ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของ Wilson (1981) ทฤษฎี
Sense-making ของ Dervin (1983) ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของ Ellis (1989) Ellis,
Cox and Hall (1993) ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของ Kuhlthau (1991) ตัวแบบ
พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของ Wilson (1996) (Wilson and Walsh, 1996) ซึ่งตัวแบบของ
Wilson (1996, 1997) เปนการพัฒนาตอยอดจากตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศในป ค.ศ.
1981 ที่ผานการศึกษาวิเคราะหในศาสตรสาขาอื่นๆ นอกเหนือจากสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร
ตัวแบบของ Wilson (1981) มีพื้นฐานอยูบนขอเสนอหลัก 2 ประการ คือ ประการแรก
ความตองการสารสนเทศนั้นไมใชความจําเปนขั้นตน แตเปนความตองการรองที่เกิดขึ้นจากความตองการ
พื้นฐานที่มีมากขึ้น และประการถัดมา ในความพยายามที่จะคนหาสารสนเทศเพื่อตอบสนองความตองการ
นั้นมีแนวโนมที่จะพบกับอุปสรรคในรูปแบบตางๆ Wilson เสนอวาความตองการขั้นพื้นฐานสามารถ
กําหนดไดวาเปนความตองการทางดานกายภาพ อารมณ หรือปญญา Wilson ยังคงตั้งขอสังเกตไววาบริบท
ของความตองการเหลานี้อาจเปนบุคคลหรือตนเองหรือบทบาทของความตองการ สภาพแวดลอมของงาน
หรือสภาพแวดลอมทางการเมือง เศรษฐกิจ เทคโนโลยีหรืออื่นๆ ที่เกิดขึ้น จากนั้น Wilson ก็ชี้ใหเห็นวา
อุปสรรคที่ขัดขวางการคนหาสารสนเทศจะเกิดขึ้นจากบริบทเดียวกัน
42