Page 46 - kpi22173
P. 46

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”





                                    Browsing

                                   (การสํารวจ)
                                      One

                     Staring       Chaining       Differentiating   Extracting     Verifying      Ending
                   (การเริ่มตน)   (การเชื่อมโยง)   (การแยกแยะ)     (การสกัด)    (การตรวจสอบ)   (การสิ้นสุด)




                                  Monitoring
                                 (การตรวจตรา)
                                   Medium

                              ภาพ 2.7  กระบวนการแสวงหาสารสนเทศของ Ellis, Cox and Hall (1993)


                             กระบวนการคนหาสารสนเทศของ Kuhlthau


                                 กระบวนการคนหาสารสนเทศ (Information search process (ISP)) ของ Kuhlthau

                  (1991) ขึ้นอยูกับความรูสึกนึกคิดและทัศนคติในระหวางการแสวงหาสารสนเทศ เชน ความสับสน

                  ความวิตกกังวล  ความคลุมเครือ  ความไมแนใจ หรือความมั่นใจ  ประกอบดวย  การแสวงหาสารสนเทศ
                  6 ขั้นตอน ดังนี้


                                 ขั้นตอนที่ 1 : ขั้นตอนการเริ่มตน (Initiation) ในขั้นตอนแรกการเริ่มตนผูแสวงหา
                  สารสนเทศจะตระหนักถึงความจําเปนที่จะตองมีสารสนเทศใหม  โดยอาจสอบถามถึงประเด็นนี้กับผูอื่น

                  และระดมความคิด  ซึ่งขั้นตอนของกระบวนการแสวงหาสารสนเทศนี้เต็มไปดวยความสับสนและความวิตก

                  กังวล

                                 ขั้นตอนที่ 2 : ขั้นตอนการคัดเลือก (Selection) บุคคลจะเริ่มตัดสินใจวาสารสนเทศ

                  เรื่องใดที่จะไดรับการตรวจสอบและดําเนินการ การสกัดสารสนเทศบางอยางอาจเกิดขึ้นได ความสับสน

                  ความวิตกกังวลที่เกี่ยวของกับขั้นตอนแรกมักหายไปและถูกแทนที่ดวยความรูสึกพึงพอใจ

                                 ขั้นตอนที่ 3 : ขั้นตอนการสํารวจ (Exploration) เปนการรวบรวมและสรางความรูใหม

                  พยายามที่จะแสวงหาสารสนเทศใหมๆ  ในขั้นตอนนี้ความสับสนและความรูสึกวิตกกังวลอาจเกิดขึ้นได

                  หากผูแสวงหาสารสนเทศพบวาสารสนเทศที่ไดไมสอดคลองกันหรือไมสามารถใชรวมกันได

                                 ขั้นตอนที่ 4 : ขั้นตอนการกําหนด (Formulation) ผูแสวงหาสารสนเทศจะเริ่มประเมิน

                  คาสารสนเทศที่รวบรวมไว เมื่อถึงจุดนี้ความสับสนและความวิตกกังวลคอยๆ ลดลง ขั้นตอนการกําหนด

                  จะถือเปนขั้นตอนที่สําคัญที่สุดของกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ




                                                            45
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51