Page 50 - kpi22173
P. 50

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  มั่นใจและประสิทธิผลการดูแลรักษาโรคที่เกิดขึ้น 2) แหลงสารสนเทศที่ผูสูงอายุสวนใหญนิยมใชสําหรับการ

                  เขาถึงสารสนเทศ ประกอบดวย (1) เว็บไซตดานสุขภาพ (2) เครื่องมือสําหรับคนหา และ (3) สื่อสังคม

                  ออนไลน สําหรับอุปสรรคและปญหาระหวางการดําเนินการแสวงหาสารสนเทศดานสุขภาพออนไลน

                  ประกอบดวย (1) ปญหาสวนบุคคล เชน ไมมีประสบการณในการใชอินเทอรเน็ต ไมเห็นประโยชน

                  ของอินเทอรเน็ต ความสามารถทางดานภาษา การรูคอมพิวเตอร และราคาคาบริการอินเทอรเน็ตที่แพง

                  (2) ปญหาดานเทคโนโลยี เชน เว็บเบราวเซอร และความซับซอนของเว็บไซต และ (3) ปญหาเทคนิควิธีการ
                  คนหา เชน การเลือกคําสําคัญไมตรงกับตัวแทนเอกสาร  สวนในงานเขียนที่ พรชิตา อุปถัมภ (2559)

                  วิเคราะหพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศดานสุขภาพของผูสูงอายุในตางประเทศจากการวิเคราะห

                  งานวิจัยพบวา 1) ความตองการสารสนเทศดานสุขภาพของผูสูงอายุขึ้นอยูกับบริบทหรือสถานการณที่

                  เผชิญขณะดําเนินการแสวงหาสารสนเทศ  2) แหลงสารสนเทศดานสุขภาพที่มีความนาเชื่อถือมากที่สุด

                  คือ แหลงสารสนเทศที่เปนบุคคล  3) รูปแบบสารสนเทศดานสุขภาพที่ผูสูงอายุตองการ คือเสียง ขอความ

                  ภาพและสื่อมัลติมีเดีย  4) แรงจูงใจในการแสวงหาสารสนเทศมาจากปจจัยตางๆ เชน ปญหาสุขภาพ
                  การปองกันรักษาโรคและโภชนาการ  5) การใชประโยชนจากสารสนเทศ เชน การดูแลตนเอง การปองกัน

                  รักษาโรค โภชนาการ และ 6) ปญหาและอุปสรรคในการแสวงหาสารสนเทศ เชน ไมทราบแหลงสารสนเทศ

                  การรูสารสนเทศ การศึกษา สภาพแวดลอมและภาษา


                             สุรชาติ พุทธิมา (2559) ศึกษาเรื่อง การพัฒนาปจจัยสนับสนุนดานสารสนเทศเพื่อสงเสริม
                  สุขภาพและปองกันโรคของสมาชิกชมรมจักรยานในจังหวัดเชียงใหม ผลการวิจัยพบวา สมาชิกชมรม

                  จักรยานในจังหวัดเชียงใหมมีความตองการสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการสงเสริมสุขภาพใหดีขึ้นและ

                  สารสนเทศที่เกี่ยวของกับการรักษาสุขภาพและการปองกันโรคภัยไขเจ็บตางๆ โดยมักแสวงหาสารสนเทศ

                  ดานสุขภาพดังกลาว  จากแหลงสารสนเทศทางอินเทอรเน็ตและแหลงสารสนเทศบุคคลมากที่สุด ซึ่งปจจัย

                  ที่สงผลตอการเลือกแสวงหาสารสนเทศจากแหลงตางๆ นั้นขึ้นอยูกับชวงวัยของบุคคลดวย โดยผูที่มีอายุ
                  นอยมักมีแนวโนมในการแสวงหาสารสนเทศจากสื่ออินเทอรเน็ตมากกวาผูสูงอายุ และสมาชิกชมรม

                  จักรยานเห็นวาความนาเชื่อถือ ความถูกตองและความทันสมัยของสารสนเทศดานสุขภาพนั้นมีความสําคัญ

                  ตอการตัดสินใจอยางมาก ดังนั้นสมาชิกชมรมจักรยานจึงมีวิธีการตรวจสอบความนาเชื่อถือของสารสนเทศ

                  ดานสุขภาพที่ไดรับกอนนําไปปฏิบัติ  โดยสวนใหญไปพบแพทยที่โรงพยาบาล คลินิก สถานีอนามัย เพื่อขอ

                  คําปรึกษาและยืนยันขอมูลใหแนใจวาสารสนเทศดานสุขภาพที่ไดรับนั้นมีความถูกตอง นาเชื่อถือและ

                  ทันสมัย ในสวนของปญหาและอุปสรรคในการแสวงหาสารสนเทศดานสุขภาพนั้น สมาชิกชมรมจักรยานใน

                  จังหวัดเชียงใหมประสบปญหาในการแสวงหาสารสนเทศดานสุขภาพจากสื่อตางๆ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ แหลง







                                                            49
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55