Page 38 - kpi22173
P. 38

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                             ในการศึกษาวิจัยนี้คณะผูวิจัยไดหยิบยกงานเขียนของ Montira Narkvichien (2020)

                  ผูเชี่ยวชาญดานสื่อสารองคกร องคการอนามัยโลกประจําประเทศไทย ที่ไดศึกษาบทบาทของ อสม. ในการ

                  ปองกันและเฝาระวังการแพรระบาดของโรค COVID-19 ณ ตําบลคูบางหลวง อําเภอลาดหลุมแกว จังหวัด

                  ปทุมธานี ในชวงเดือนกันยายน พ.ศ. 2563 ไดสะทอนมุมมองและบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจํา

                  หมูบาน (อสม.) ในสถานการณการแพรระบาด COVID-19 ในปจจุบัน ซึ่งการบริหารจัดการภายใตกระทรวง
                  สาธารณสุข มี อสม. จํานวน 1.04 ลานคนทั่วประเทศ รวมถึงอาสาสมัคร 15,000 คนในกรุงเทพมหานคร

                  โดย อสม. แตละคนไดรับคาตอบแทน 1,000 บาทตอเดือนและไดรับคาตอบแทนเพิ่มเติมอีก 500 บาท

                  ในชวงสถานการณการแพรระบาดของโรค COVID-19 โดยในชวงสี่ทศวรรษที่ผานมา อสม.ถือวาเปน
                  สวนสําคัญของระบบสุขภาพปฐมภูมิของไทยในการสํารวจขอมูลดานสาธารณสุข เก็บขอมูล เก็บบันทึกดาน

                  สุขภาพของครอบครัวและรณรงคเรื่องการปองกันโรคเพื่อสนับสนุนการทํางานของเจาหนาที่สาธารณสุข

                  ในชวงที่มีการแพรระบาด การเก็บประวัติสุขภาพของสมาชิกในชุมชนโดยละเอียดไดถูกนํามาใชเพื่อติดตาม

                  ผูสัมผัสโรคและเพื่อติดตามดานสุขภาพ กอนที่จะมีการแพรระบาดของโรค COVID-19 อสม. มีบทบาท

                  ในการปองกันการแพรระบาดของโรคอื่นๆ เชน มีการเยี่ยมเยือนตามบานเพื่อชวยกําจัดแหลงน้ําขังซึ่งเปน
                  ที่เพาะพันธุยุงลายอันเปนพาหะของโรคไขเลือดออกในชวงฤดูฝน สวนในชวงฤดูรอนจะเนนไปที่ปศุสัตว

                  ทองถิ่น การฉีดวัคซีนโรคพิษสุนัขบาและวัคซีนใหโค กระบือ และสัตวเลี้ยง และใหความรูเบื้องตนเพื่อชวย

                  ใหคนในชุมชนเขาใจสาเหตุของโรคและวิธีปองกันรักษาโรค เชน ไขเลือดออก พิษสุนัขบา และมาลาเรีย
                  จากประสบการณขางตนของ อสม. ถือวาเปนความรูเดิมที่นํามาปรับใชกับการแพรระบาดของโรค COVID-

                  19 อสม. เคาะตามประตูบานทุกหลังเพื่อใหคําแนะนําเรื่องการปองกันโรค COVID-19 มีประสบการณในการ

                  รับมือกับการแพรระบาดของโรคมาหลายๆ ครั้ง นับตั้งแตการแพรเชื้อของโรค SARS, Avian Influenza,

                  and Influenza H1N1 เปนตน  ซึ่ง อสม. มีบทบาทที่สําคัญในทีมเฝาระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว

                  (Surveillance and Rapid Response Team--SRRT) ที่เขาไปมีสวนรวมในทีมงานกับทีมแพทย พยาบาล
                  ในโรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล  รวมถึงหนวยอาสาสมัครปองกันภัยฝาย

                  พลเรือน (อปพร.) ของกระทรวงมหาดไทย เปนตน การทํางานรวมกันของหลายภาคสวนนี้ ถือวาเปนปจจัย

                  ที่สําคัญตอความสําเร็จในการปองกันและเฝาระวังการแพรเชื้อของโรค COVID-19 ดังกลาวอยางยิ่งยวด

                         2.2.3 จํานวนอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในเขตอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม


                             ในป พ.ศ. 2562 จากรายงานของฐานขอมูลระบบสารสนเทศงานสุขภาพประชาชน

                  กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน ในเขตอําเภอเมืองเชียงใหม จาก 16 ตําบล มีจํานวนอาสาสมัคร
                  สาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) รวมทั้งสิ้น จํานวน 2,691 คน เปนชาย จํานวน 450 คน เปนหญิง จํานวน

                  2,241 คน เปนหญิงในสัดสวน รอยละ 83.28 และเมื่อสํารวจในเขตอําเภอเมืองเชียงใหม จาก 4 ตําบล






                                                            37
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43