Page 37 - kpi22173
P. 37

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศฟลิปปนสใน พ.ศ. 2513 ประเทศไทยกับฟลิปปนสมีจํานวนประชากรเทากัน

                  ประมาณ 36 ลานคน แตใน พ.ศ. 2559 ฟลิปปนสมีจํานวนประชากรสูงถึง 103 ลานคน สวนประเทศไทย

                  มีประชากร 69 ลานคน จึงชัดเจนวาประเทศฟลิปปนสไมประสบความสําเร็จในการวางแผนครอบครัว

                  เทาที่ควร ซึ่งมีคําอธิบายวาอาจเปนผลมาจากการตอตานของคริสตจักรโรมันคาทอลิก

                             สรุปไดวา อสม. เปนบุคคลที่ไดรับคัดเลือกจากชาวบาน ไมนอยกวา 10 หลังคาเรือนในแตละ

                  คุมหรือละแวกบานและไดรับการอบรมตามหลักสูตรที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนด โดยมีบทบาทหนาที่

                  สําคัญในฐานะผูนําการเปลี่ยนแปลงดานพฤติกรรมสุขภาพอนามัย การทําหนาที่เปนสื่อขาวสารสาธารณสุข

                  (ผสส.) การแนะนําเผยแพรความรู การวางแผนและประสานกิจกรรมพัฒนาสาธารณสุข ตลอดจนใหบริการ

                  สาธารณสุขดานตางๆ เชน การสงเสริมสุขภาพ การเฝาระวังและปองกันโรค การชวยเหลือและรักษา

                  พยาบาลขั้นตน โดยใชยาและเวชภัณฑตามขอบเขตที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนด การสงตอผูปวยไปรับ

                  บริการการฟนฟูสุขภาพและการคุมครองผูบริโภคดานสุขภาพ โดย อสม. แตละคนมีหนาที่รับผิดชอบดูแล
                  ครัวเรือนในหมูบานหรือชุมชน ประมาณ 10-15 หลังคาเรือน (กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ, 2554)


                             ในปจจุบันรัฐบาลมีนโยบายดานสาธารณสุขในการพัฒนาและยกระดับความรู อสม. ใหเปน

                  หมอประจําบานควบคูกับการใชเทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย พรอมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพระบบการ

                  บริการสาธารณสุขในชุมชนผานการพัฒนาระบบการแพทยทางไกลควบคูไปกับการเพิ่มบทบาทของ อสม.
                  เพื่อลดโรคและปญหาสุขภาพ สงเสริมใหประชาชนพึ่งตนเองไดและสามารถลดความแออัดของโรงพยาบาล

                  ลดการพึ่งพาโรงพยาบาลได ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขใหความสําคัญในการสงเสริมสุขภาพของประชาชน

                  และยกระดับคุณภาพบริการดานสาธารณสุข โดยพัฒนาระบบบริการสุขภาพเนนการสงเสริมสุขภาพ

                  ปองกันโรคและภัยสุขภาพและการคุมครองผูบริโภคดวยความรวมมือของทุกภาคสวน โดยใหประชาชน

                  มีโอกาสในการรวมคิด รวมนํา รวมทํา และรวมในการอภิบาลแบบเครือขายภายใตกระบวนการที่สงเสริม
                  ใหเกิดการพัฒนาบทบาทดานสุขภาพภาคประชาชนตามหลักการการสาธารณสุขมูลฐาน ซึ่งปจจุบัน

                  มีเครือขายอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน จํานวนกวา 1,040,000 คน ซึ่งเปนตัวแทนประชาชน

                  ผูที่มีจิตอาสาเสียสละ เขามามีสวนรวมดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชน จนไดรับการยอมรับ

                  จากสังคม ซึ่งกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ มีบทบาทสําคัญในการสงเสริมสนับสนุนใหประชาชนสามารถ

                  ดูแลสุขภาพตนเองไดและชุมชนมีศักยภาพในการพึ่งพาตนเองไดอยางยั่งยืน โดยใหความสําคัญในการ

                  สงเสริมพัฒนาศักยภาพ อสม. และสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง

                  ครอบครัว ชุมชนใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นรวมทั้งเสริมสรางขวัญและกําลังใจในการพัฒนาและยกระดับ
                  อสม. เปน อสม. หมอประจําบาน (กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ, 2562)







                                                            36
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42