Page 36 - kpi22173
P. 36

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                             การดําเนินการขางตนจะสําเร็จไดจําเปนตองอาศัยบุคลากรทางการแพทยจํานวนมากในการ

                  ดูแลและเขาถึงประชาชนเพื่อใหบริการสาธารณสุขมูลฐาน ซึ่งในขณะนั้นบุคลากรทางการแพทยมี

                  ไมเพียงพอ ดังนั้น อสม.ที่เริ่มเปนรูปธรรมมากขึ้นภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4

                  (พ.ศ. 2520-2524) (ค.ศ. 1977-1981)  สมัยรัฐบาลเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน  จึงเขาไปมีบทบาทสําคัญ

                  ทามกลางความพยายามในการตอสูเพื่อแยงชิงมวลชนในยุคสงครามเย็นของรัฐ มีมวลชนจํานวนหนึ่ง

                  หลบหนีเขาปา (Vongtangswad, 2017)  ในมวลชนประกอบไปดวยเหลาชาวบาน ปญญาชนและแพทย
                  เขารวมสนับสนุนฝายคอมมิวนิสตเพื่อตอสูกับรัฐบาลกลาง จึงเรียกแพทยกลุมนั้นวาเปน “หมอเทาเปลา”

                  เนื่องจากเดินทางไปมาหาสูกันเดินดวยเทาเปลา โดยเปนแนวคิดที่ไดรับอิทธิพลทางความคิดมาจากประเทศ

                  จีน มีปรากฏบันทึกในภาษาอังกฤษดวยคําวา “Barefoot doctor” ซึ่งหมายถึงคนที่ไดรับการฝกอบรม

                  ดานการแพทยและผูชวยแพทยขั้นพื้นฐานและทํางานในหมูบานพื้นที่ชนบทอันหางไกลและยากตอการ

                  เขาถึงการแพทยจากเมืองใหญ ภายหลังความขัดแยงมีการสนับสนุนและผอนปรนมาตรการใหแพทยกลับ

                  เขากรมกองและโรงพยาบาล อยางไรก็ตาม การคงอยูของความตึงเครียดหลายทศวรรษยอมทิ้งรองรอย
                  ความพยายามของกลุมแพทยและผูใหบริการที่ไดรับการฝกอบรมทางการแพทยจากแพทยที่หลบหนีเขาปา

                  ซึ่งรัฐไดพยายามควบรวมผูคนเหลานั้นเขาเปนสวนหนึ่งในการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐภายหลังจาก

                  สงครามอินโดจีนสิ้นสุดลง


                             ดังที่กลาวมาขางตน ในชวงทศวรรษ 1970 เกิดความวุนวายจากสงครามอินโดจีน ทามกลาง
                  ความขัดแยงระหวางประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสตกับประเทศเสรีนิยมประชาธิปไตยในภูมิภาคเอเชีย

                  ตะวันออกเฉียงใตซึ่งประเทศไทยตั้งอยูใจกลางภูมิภาค  มีการรุกคืบจากลัทธิคอมมิวนิสตแลวครอบครอง

                  ในหลายภูมิภาค  โดยเฉพาะภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือกําลังรุกคืบเขาฝงไทยบางสวน

                  กระแสแนวคิดทฤษฎีโดมิโน มีสวนกระตุนใหรัฐไทยหวาดกลัวภัยจากคอมมิวนิสตอยางขนานใหญ  จึงออก

                  อุบายและกลยุทธชวงชิงมวลชน คือ นโยบายตอสูกับความยากจนดวยการพัฒนาชนบท พัฒนาระบบ
                  สุขภาพ การศึกษาและการเกษตร ซึ่งไดกลายเปนรากฐานสําคัญในการพัฒนาชนบทและการลดความ

                  ยากจน อยางไรก็ตาม อสม. เกิดขึ้นจากการผลักดันของกองทัพปลดแอกประชาชนแหงประเทศไทย

                  (ทปท.) วิโรจน ตั้งเจริญเสถียร และคณะ (Tangcharoensathien et. al 2018) บรรยายถึงการพัฒนา

                  ระบบสุขภาพเริ่มตนในชวงทศวรรษ 1970 วามีการวางรากฐานเชิงยุทธศาสตรในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

                  สังคมแหงชาติระยะหาป ซึ่งครอบคลุมหลากหลายมิติของการพัฒนา เชน นโยบายการวางแผนครอบครัว

                  แหงชาติ พ.ศ. 2513 และนโยบายขยายการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค พ.ศ. 2519 ผลของการวางแผน

                  ดังกลาวโดยเฉพาะอยางยิ่งนโยบายการวางแผนครอบครัวสงผลเดนชัดที่สุด กลาวคือ ในชวงเวลาสี่ทศวรรษ
                  ที่ผานมาอัตราการเพิ่มประชากรลดลงจากรอยละ 2.9 ใน พ.ศ. 2513 เหลือรอยละ 0.3  ใน พ.ศ. 2559





                                                            35
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41