Page 179 - kpi21193
P. 179

ตารางที่ 2 สถานะการเงินการคลังของเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ ประจำปีงบระมาณ 2562

            “สมรรถนะองค์กร” กับการสร้างสรรค์นวัตกรรมท้องถิ่น
                                 สถานะการเงินการคลัง             งบประมาณปี 2561  งบประมาณปี 2562
                   รายได้                                         266,998,283.26   283,364,956.83

                      หมวดภาษีอากร                                  22,139,952.45    22,541,077.67
                      หมวดค่าธรรมเนียม ค่าปรับฯ                      9,021,371.63     9,480,648.10
                      หมวดรายได้จากทรัพย์สิน                         5,845,948.80     5,653,471.38

                      หมวดรายได้เบ็ดเตล็ด                            4,163,876.50     4,048,413.64

                      หมวดรายได้จากทุน                                    10,000              550
                      หมวดภาษีจัดสรร                                90,566,937.88    94,657,261.04
                      หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป                           135,250,196      146,983,535

                      เงินอุดหนุนที่รัฐให้โดยระบุวัตถุประสงค์       20,332,111.97    33,255,060.43
                   รายจ่าย                                        241,052,409.28   269,327,270.04

                      งบกลาง                                        36,021,469.66    45,760,006.55
                      งบบุคลากร                                    119,201,094.44   123,769,910.35

                      งบดำเนินการ                                   66,948,681.30    77,186,798.49
                      งบลงทุน                                           6,647,798    10,040,581.61

                      งบเงินอุดหนุน                                 12,233,356.88    12,569,973.04
                      รายจ่ายจากเงินอุดหนุนที่รัฐให้โดยระบุวัตถุประสงค์   19,381,222.42   32,063,064.06
                  ที่มา : เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์. เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปี 2563” สืบค้นจากเว็บไซต์ http://
                  www.kalasin-mu.go.th/sj/images/pdf/tpaman2563.pdf เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2563.
            ส่วนที่ 2 กรณีศึกษา   นวัตกรรมการจัดการขยะชุมชนแบบมีส่วนร่วม





                        1. สภาพปัญหา


                          ในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ประสบกับปัญหาขยะจำนวนมากและมีแนวโน้ม
                  เพิ่มมากขึ้นตามการเติบโตของเมือง ทำให้เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์จำเป็นต้องหาแนวทางแก้ไข

                  ปัญหาขยะในเมือง เพื่อรองรับปริมาณขยะที่เพิ่มมากขึ้นและตอบสนองความต้องการของ
                  ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงเริ่มต้นแนวคิดการสร้างบ่อฝังกลบขยะเมื่อปี พ.ศ. 2550 และ
                  มีระยะเวลาการใช้งานถึงปี พ.ศ.2557 การออกแบบระบบกำจัดขยะในขณะนั้นสามารถรองรับ

                  ปริมาณขยะได้เพียงเฉพาะพื้นที่เขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์เท่านั้น ซึ่งมีปริมาณขยะที่ต้องกำจัด





                1 0   สถาบันพระปกเกล้า
   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184