Page 127 - kpi20902
P. 127
126
“แต่การที่มีคลองชลประทานเข้ามาก็ท้าให้วิถีชีวิตของคนในชุมชนต่างออกไป
จากเดิม จากเดิมคือการใช้วัวควายไถนาเปลี่ยนมาขายวัวขายควาย เช่น มีวัวสี่ตัวขายได้สี่หมื่น
บาท แต่ไปซื อรถไถในราคาสี่หมื่นห้า เหล่านี หากไม่ใช้ปัญญาเข้าประกอบด้วยก็ท้าให้เกิด
เป็นหนี ในครัวเรือนขึ น นอกจากนั นก็ยังต้องพึงพาปุ๋ยเคมีสิ่งที่ตามมาก็คือ หนี สินที่เกิดขึ น
ภายในครัวเรือน และมลพิษที่เกิดขึ นทั งต่อสภาพดินที่ท้ากิน และสภาพอากาศ” สัมภาษณ์
นายศิวโรฒ จิตนิยม ผู้จัดการสถาบันการเงินชุมชนบ้านหนองสาหร่าย วันที่ 23 สิงหาคม 2562
ปรากฏการณ์ที่เป็นแรงจูงใจที่ส้าคัญที่มีส่วนผลักดันให้ชาวต้าบลหนองสาหร่ายเปลี่ยนแปลง
วิถีชีวิตการประกอบอาชีพเกษตรกรรมเพื่อการยังชีพไปสู่การผลิตเพื่อขาย ก็คือนโยบายหลักที่มาจากแผน
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่มุ่งเน้นการสร้างความเจริญเติบโตทางด้าน GDP คือ เน้นการผลิตเพื่อ
ส่งออกไปขายยังต่างประเทศ โดยมีการส้ารวจข้อมูลพื นที่ต่างๆ ในประเทศโดยการใช้เส้นแบ่งความยากจน
(Poverty line) เป็นตัวแบ่งสถานะของชุมชนหรือต้าบลต่างๆ ภายในประเทศ โดยในช่วงปี 2531-2541
มีค่าเฉลี่ยคนไทยที่เรียกว่ายากจน อยู่ที่ 879-1,533 บาท/คน/เดือน ซึ่งชาวต้าบลหนองสาหร่ายก็ติดอยู่กับ
เส้นแบ่งความยากจนเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมซึ่งยังมีความสามารถในการ
สร้างรายได้น้อยอยู่ ดังนั น แผนการพัฒนาประเทศและการรณรงค์ของหน่วยงานภาครัฐจึงเป็นส่วนผลักดัน
ในการเปลี่ยนวิถีชีวิตของชาวต้าบลหนองสาหร่ายเป็นอย่างมาก
“หลังจากมีแผนพัฒนาประเทศมีการแบ่งความยากจนความร่้ารวยโดยใช้จีดีพีมา
เป็นตัวก้าหนด ปัญหาก็เริ่มเกิดขึ นกับภาคชุมชน คือ ชุมอยู่ในจุดที่เรียกว่าความยากจน
เนื่องมาจากวิถีชีวิตภาคเกษตรคือการท้าเพื่อกินเอง ไม่ได้ท้าเพื่อหวังผลก้าไรในการค้าขาย
เมื่อมีการใช้เส้นแบ่งความยากจนมาวัดจึงท้าให้ชุมชนอยู่ในระดับที่ต่้ากว่าเกณฑ์ แต่ถ้าหาก
วัดจากความสุขที่เกิดขึ นคนในชุมชนมีความสุข เพราะเรามีกินจากการเกษตรที่เราท้า
เพียงแต่ว่าเราไม่มีเงินเก็บ” สัมภาษณ์ นายศิวโรฒ จิตนิยม ผู้จัดการสถาบันการเงินชุมชน
บ้านหนองสาหร่าย วันที่ 23 สิงหาคม 2562
ถึงแม้ต้าบลหนองสาหร่ายจะมีโอกาสในการเข้าถึงแหล่งน ้าเพิ่มมากขึ นจากการที่หน่วยงานภาครัฐ
โดยเฉพาะกรมชลประทานได้ขุดคลองชลประทานเข้ามาในต้าบลหนองสาหร่ายในช่วงปี 2538 ผ่านหมู่ที่ 3
หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 7 ท้าให้เกษตรกรในต้าบลหนองสาหร่ายสามารถเข้าถึงแหล่งน ้าได้ง่ายขึ นและเป็นโอกาส
อย่างส้าคัญในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร แต่โอกาสนั นมาเพียงแค่ช่วงระยะเวลาหนึ่งเท่านั น เพราะปัญหา