Page 130 - kpi20902
P. 130
129
“และระบบการพัฒนาที่ใช้พื นที่เป็นตัวตั งสามารถน้าไปใช้ได้ เพียงแต่ว่าในการ
จัดสรรงบประมาณที่เท่ากันท้าให้เกิดความไม่เหมาะสม เช่น แต่ละต้าบลมีประชาชน
ไม่เท่ากันมากน้อยต่างกัน แต่งบประมาณที่แต่ละต้าบลได้รับมานั นกลับเท่ากัน ซึ่งมันก็
ไม่มีความเหมาะสมในแง่ของการน้างบประมาณมากระจายเพื่อให้เกิดการพัฒนา และ
การจัดสรรที่พื นที่ไม่ต้องการคือพื นที่มีความต้องการอีกอย่าง แต่กลับได้รับการจัดสรร
อีกอย่าง อย่างนี ก็ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์กับพื นที่นั น ๆ และอีกประการคือวิสัยทัศน์ของผู้น้า
ที่ยังไม่เพียงพอ จึงได้มีการแยกออกมาเป็นต้าบลหนองสาหร่ายเมื่อ ปี พ.ศ.2535 ซึ่งตั งแต่
ปี พ.ศ.2535 ชุมชนสามารถที่จะท้านาได้สองครั งต่อหนึ่งปี เนื่องมาจากมีคลองชลประทาน
เข้ามาท้าให้เส้นแบ่งความยากจนของคนในชุมขนหมดไป” สัมภาษณ์ นายศิวโรฒ จิตนิยม
ผู้จัดการสถาบันการเงินชุมชนบ้านหนองสาหร่าย วันที่ 23 สิงหาคม 2562
“มีท้านาท้าไร่อ้อยท้าไร่ข้าวโพดและปลูกยาสูบ และเลิกปลูกยาสูบ เพราะมันเหม็น
ท้าอยู่ประมาณ 2 ปี และกระทรวงเกษตรก็ลงพื นที่แนะน้าให้ปลูกปอ มีปลูกพริกอีก ช่วงอายุ
32 ตอนนั นมีคลองชลประทานเข้ามา ปลูกอะไร ผลผลิตก็ได้ดีมาก” สัมภาษณ์ป้า บุษกร
พรหมา ประธานสภาวัฒนธรรม วันที่ 4 สิงหาคม 2562
ปัญหาเรื่องแหล่งน ้าในการเพาะปลูกเป็นปรากฏการณ์ที่สะท้อนความเหลื่อมล ้าในการเข้าถึง
ทรัพยากรอย่างหนึ่ง เนื่องจากการเข้าถึงแหล่งน ้าเพื่อการเกษตรกรรม เป็นปัญหาส้าคัญที่ส่งผลกระทบต่อ
วิถีชีวิตของเกษตรกรชุมชนต้าบลหนองสาหร่ายเป็นอย่างมาก แม้ว่าการที่ชุมชนสามารถก้าวข้ามปัญหาการ
เข้าถึงแหล่งน ้ามาได้แล้ว การเข้าถึงแหล่งน ้าดังกล่าวกลับกลายเป็นผลพ่วงที่ส่งผลกระทบกับปัญหาความ
เหลื่อมล ้าด้านอื่นๆ อีก เช่น ความเหลื่อมล ้าในการเข้าถึงราคาพืชผลทางการเกษตรอย่างเป็นธรรม เป็นต้น
ในขณะที่การเพาะปลูกในสมัยก่อน จากที่มีการปลูกข้าวปีละครั งที่เรียกว่า “การท้านาปี” เนื่องจากการ
เพาะปลูกข้าวในสมัยก่อนต้องอาศัยแหล่งน ้าตามธรรมชาติ คือ น ้าฝน แต่เมื่อมีแหล่งน ้าจากคลองชลประทาน
การเพาะปลูกได้เปลี่ยนรูปแบบไปเป็นปลูกข้าวปีละ 2 ครั งที่เรียกว่า “การท้านาปลั่ง” ซึ่งการเพาะปลูกข้าว
อย่างต่อเนื่องโดยไม่เปิดโอกาสให้เกิดการพักหน้าดินหรือท้าให้ดินไม่มีโอกาสในการฟื้นสภาพเกิดปัญหา
การเสื่อมสภาพของดินตามมา