Page 125 - kpi20902
P. 125
124
43
ล้านไร่ผลิตข้าวเพิ่มขึ นเป็น 3 เท่าจากเดิม จนท้าให้ประเทศไทยได้ชื่อว่าส่งออกข้าวเป็นอันดับ 1 ของโลก
จนถึงปัจจุบัน คาดว่าจะมีการส่งออกสูงถึง 10 ล้านตัน (ปี พ.ศ.2561) ปรากฏการณ์ดังกล่าวส่งผลให้วิถีชีวิต
ด้านการเกษตรของชาวต้าบลหนองสาหร่ายเริ่มเปลี่ยนรูปแบบไป เนื่องจากแรงจูงใจที่เกิดจากราคาพืชผลทาง
การเกษตรในขณะนั น และความต้องการความสะดวกสบายตามสมัยนิยมที่เน้นการบริโภควัตถุนิยมท้าให้เกิด
การปฏิกิริยาตอบสนอง โดยการเร่งการเพาะปลูกเพื่อเร่งปริมาณผลผลิตให้เพียงพอต่อการจ้าหน่ายตาม
ความต้องการของตลาดทั งในและต่างประเทศ ท้าให้การวิธีการเพาะปลูกเริ่มเปลี่ยนจากการใช้ปุ๋ยอินทรีย์หรือ
ปุ๋ยตามธรรมชาติที่รอให้เกิดการย่อยสลายของตอซังข้าว ปรับเปลี่ยนเป็นการใช้ปุ๋ยเคมี เพื่อเร่งผลผลิตให้ได้
จ้านวนเพิ่มมากขึ น ซึ่งปรากฏการณ์ดังกล่าวเป็นการเพิ่มต้นทุนการผลิตขึ นมาอย่างรวดเร็ว คือจาก ช่วงปี พ.ศ.
2529 ต้นทุนการผลิตข้าวนาปีของไทย เพิ่มขึ นจาก 888.07 บาทต่อไร่ และ 3062.31 บาทต่อตัน
เป็น 1,247.77 บาทต่อไร่ และ 4,037.96 ต่อตัน ในปี พ.ศ. 2539 เพิ่มขึ น 3.08 และ 2.08 ตามล้าดับ
44
การน้าเครื่องจักรมาใช้ในการไถ พรวน และคราด ซึ่งก็เป็นการเพิ่มต้นทุนการผลิตเช่นเดียวกัน เนื่องจาก
เครื่องจักรต้องใช้น ้ามันเชื อเพลิงในการขับเคลื่อน เมื่อตลาดมีความต้องการมากขึ นและราคาผลผลิตที่สูงขึ น
มีส่วนจูงใจมากกว่าเดิม ท้าให้เกษตรกรต้าบลหนองสาหร่าย ยิ่งมีความหวังว่าจะได้ก้าไรจากการขายผลผลิต
คือ ข้าว เพิ่มมากขึ นการที่เกษตรกรเร่งการผลิตส่งผลให้ปริมาณต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ น เมื่อถึงช่วงเวลา
เก็บเกี่ยวกลับเกิดปรากฏการณ์ที่คอยหลอกหลอนเกษตรกรมาโดยตลอดระยะเวลาหลายสิบปี ก็คือ ราคา
พืชผลทางการเกษตรตกต่้าลงเนื่องจากผลผลิตมีปริมาณมากจนท้าให้ผู้ซื อหรือพ่อค้าสามารถรับซื อข้าวในราคา
ที่ต่้าลง (ในช่วงปี 2535-2553 ราคาข้าวลดเหลือตันละ 4,000 บาท) ในขณะที่ต้นทุนการผลิตก็เพิ่มสูงขึ น
ค่าปุ๋ย ค่าจ้างแรงงาน ค่าเครื่องจักร เป็นต้น ท้าให้เกษตรกรเริ่มกู้เงินจากแหล่งทุนที่ส้าคัญ คือ ธนาคาร ธกส.
และแหล่งทุนนอกระบบ ซึ่งการกู้เงินจากแหล่งทุนดังกล่าวยังอยู่บนฐานคิดที่ใกล้เคียงกันคือ จะได้ก้าไรจาก
ผลผลิตในฤดูกาลต่อไป จะสามารถใช้หนี ที่กู้มาได้และมีผลก้าไรเหลือ ท้าให้การกู้เงินจากแหล่งทุนดังกล่าว
นับวันยิ่งทวีเพิ่มมากขึ นเรื่อยๆ เนื่องจากต้นทุนการผลิตยังคงเพิ่มสูงขึ น แต่ราคาพืชผลทางการเกษตร
กลับมีทิศทางเป็นไปในทางตรงกันข้ามคือลดลง ซึ่งหากพิจารณาปัญหาเฉพาะด้านการเกษตรของต้าบล
หนองสาหร่าย สามารถสรุปออกเป็นประเด็นปัญหาหลักๆ ได้ดังต่อไปนี คือ
43 https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8
%B4%E0%B8%95%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0
%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2
44 มหาวิทยาลัยศรีปทุม, รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ สถิติและข้อมูลทุติยภูมิเกี่ยวกับเรื่องข้าว,
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, มีนาคม 2550, หน้า 2.