Page 124 - kpi20902
P. 124

123



                 ส่วนที่ 4.3 สภาพปัญหาความเหลื่อมล ้าที่ส่งผลกระทบกับต้าบลหนองสาหร่าย


                        ตั งแต่ช่วงปี พ.ศ.2540 เป็นต้นมา ที่ประเทศไทยต้องประสบกับปัญหาทางด้านเศรษฐกิจของสถาบัน

                 การเงินอย่างรุนแรง จากวิกฤตฟองสบู่แตก (economic bubble) ท้าให้เกิดความชะงักงันของระบบเศรษฐกิจ

                 ทั งในระดับโลก และระดับประเทศ ท้าให้เกิดกระแสของการมุ่งมั่นพัฒนาประเทศเพื่อการฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจ

                 โดยมีเป้าหมายการพัฒนาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544) ซึ่งเริ่มจะ

                 กลับมาให้ความส้าคัญกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ให้ความส้าคัญกับการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ตามแนวทาง

                 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นพระราชด้าริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เพื่อพาประเทศ

                 ให้ผ่านพ้นวิกฤติเศรษฐกิจที่อยู่ในสภาวะล้มเหลวดังกล่าวนั น ถึงกระนั นก็ตามกระแสของการพัฒนาประเทศ

                 ไปสู่ความทันสมัยก็ยังคงเป็นแผนที่หน่วยงานรัฐ ยังคงให้ความส้าคัญอยู่เช่นเดิม แต่จะอย่างไรก็ตามวิกฤต

                 เศรษฐกิจดังกล่าว ก็ได้ส่งผลกระทบไปถึงชุมชนท้องถิ่นที่เน้นการผลิตเพื่อขายอย่างไม่สามารถที่จะหลีกหนีพ้น

                 ผลกระทบจากปัญหาภาวะเศรษฐกิจล้มเหลวครั งนี ไปได้ ต้าบลหนองสาหร่ายก็ได้รับผลกระทบเช่นเดียวกัน

                 จากการด้าเนินชีวิตที่เป็นไปแบบเรียบง่าย กลับกลายเป็นการพัฒนาเพื่อความทันสมัยอย่างต่อเนื่องท้าให้คนใน

                 ต้าบลหนองสาหร่ายซึ่งมีประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมคือ การปลูกข้าว หรือปลูกอ้อย

                 เป็นต้น ต้องประสบปัญหาในการด้ารงชีวิตหลายด้านด้วยกัน สะสมกันมาอย่างต่อเนื่อง ท้าให้เกิดการ

                 ปรับเปลี่ยนทิศทางในการด้าเนินชีวิตเป็นแบบเศรษฐกิจพอเพียง มีเท่าไรใช้เท่านั น พออยู่ พอกิน ในครอบครัว

                 เกิดการลด ละ เลิกอบายมุข ทั งยังขยันท้ามาหากิน ประหยัด รู้จักที่จะเก็บออมเพื่อไว้ใช้ในภายภาคหน้า

                 สามารถพึ่งตนเองได้ก่อนที่จะคิดไปพึ่งคนอื่น กล่าวคือ ท้าสิ่งต่างๆ ด้วยก้าลังที่ตนเองมีอยู่ พยายามช่วยเหลือ

                 ตนเองในสิ่งที่ท้าได้โดยไม่ต้องไปร้องขอจากคนอื่น เมื่อคนในชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้แล้วนั นก็ย่อมที่จะให้

                 ความช่วยเหลือกับคนที่เดือนร้อนกว่าตนเองได้ เกิดการช่วยเหลือเกื อกูลกัน สามัคคีกันในการท้างาน มีระเบียบ

                 วินัยมากขึ นและคนในชุมชนเองเคารพในกฎหมายของชุมชน รวมทั งกฎเกณฑ์อื่นๆ ที่ชุมชนตั งขึ นจากการ

                 ประชุมผ่านสภาผู้น้าชุมชนกับสภาองค์กรชุมชนระดับต้าบลต่อมา ซึ่งสามารถแยกสถานการณ์ปัญหาออกเป็น

                 ด้านๆ ได้ดังต่อไปนี


                        4.3.1 ปัญหาด้านการเกษตร


                            ปัญหาด้านการเกษตรยังคงเป็นปัญหาส้าคัญอันดับแรก เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงด้านวิถีการ

                 ด้ารงชีพของชาวต้าบลหนองสาหร่ายที่ประกอบอาชีพด้านการเกษตรที่เพาะปลูกพืชผลทางการเกษตรมาตั งแต่

                 ก่อนการก่อตั งชุมชน ซึ่งมักจะเป็นการเพาะปลูกเพื่อการบริโภคเป็นส่วนใหญ่ แต่เมื่อมีนโยบายจากภาครัฐ และ

                 การสนับสนุนจากภายนอก คือ ธนาคารโลก ส่งเสริมเกี่ยวกับการรณรงค์ให้เกษตรกรเร่งเพาะปลูกข้าวเพื่อการ

                 จ้าหน่ายและส่งออก ท้าให้มีการขยายที่ดีเพื่อการเพาะปลูกข้าวสูงขึ นอย่างรวดเร็ว คือ จาก 35 ล้านไร่ เป็น 59
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129