Page 126 - kpi20902
P. 126
125
1) ปัญหาเรื่องการเข้าถึงแหล่งน ้า
ก่อนการก่อตั งชุมชน เกษตรกรต้าบลหนองสาหร่ายได้รับผลกระทบจากการขาดแคลน
แหล่งน ้าในการเพาะปลูกอย่างมาก เนื่องจากเป็นพื นที่ส่วนหนึ่งของต้าบลดอนเจดีย์ ไม่มีอ้านาจต่อรองเรื่อง
งบประมาณ ในขณะที่พื นที่ต้าบลหนองสาหร่ายตั งอยู่ไกลจากคลองชลประทานหลักที่อ้าเภอดอนเจดีย์ ท้าให้
ชาวบ้านเริ่มมีเสียงสะท้อนถึงไปแกนน้าชาวบ้านจนน้าไปสู่กิจกรรมร่วมด้วยช่วยกัน คือ การขุดคลองโดยการ
ใช้แรงมือของชาวบ้านที่มีลักษณะของจิตอาสาเข้าร่วมกันขุดดินเพื่อเปิดเส้นทางน ้าเข้ายังต้าบลหนองสาหร่าย
เป็นระยะทาง 3 กิโลเมตร โดยมีการบอกเล่าเรื่องราวดังกล่าวจากประธานสภาวัฒนธรรม ซึ่งเป็นคนเก่าแก่
ดั งเดิมของต้าบลหนองสาหร่ายไว้ว่า
“ตอนนั นหนองสาหร่ายล้าบากมากเพราะแหล่งน ้าเรามีน้อย หนองที่มีอยู่มันตื นเขิน
และแห้งไปเยอะ ผู้ใหญ่บ้านก็เลยตีเกราะ เรียกประชุมชวนกันไปขุดคลองเปิดทางน ้าเข้ามา
ในหนองสาหร่าย จากดอนเจดีย์เข้ามาที่หนองสาหร่าย 3 กิโลได้ ชาวบ้านช่วยกันครอบครัว
ละ 2 ล็อค (ล็อคละ 2 เมตร) โดยหลวงพ่อท่านเจ้าคุณที่วัดได้ไปขอข้าวกับจังหวัด และ
ก็เมล็ดผักมาให้ครอบครัวที่ช่วยกันขุด” สัมภาษณ์ป้า บุษกร พรหมา ประธานสภาวัฒนธรรม
วันที่ 4 สิงหาคม 2562
“เมื่อก่อนนะ มันล้าบากมาก คลองก็ไม่มี ตั งแต่จ้าได้นะกลับมาจากนนทบุรีก็เป็น
สาวกรุงเทพแล้วก็ย้อนกลับมา ไม่เคยท้าไร่ ท้านา พ่อแก่แล้ว เราก็ท้าบ้างไม่ท้าบ้าง มาด้านา
ควายไทย ควายขาด ตานี พี่สาวที่แต่งงานแล้ว เขาก็เลยมาช่วย คือเรายังเล็กยังด้าไม่เป็น
พี่สาวก็จะลงมาช่วย เมื่อก่อนใครไม่มี พี่ ๆ ก็จะลงมาช่วย พี่ทางพ่อ พี่ทางแม่ น้องทางแม่
คือ ถ้าป้าจะท้าอะไร เขาก็จะมาช่วย ช่วยโดยไม่เอาตังค์ มาด้านา คือ เป็นลูกก้าพร้าเป็นคน
เมื่อก่อนนะ ถ้าเป็นคนสมัยนี เขาทิ งแล้ว” สัมภาษณ์ป้า บุษกร พรหมา ประธานสภา
วัฒนธรรม วันที่ 4 สิงหาคม 2562
จากสภาพปัญหาเดียวกันก่อให้เกิดความสามัคคีของชุมชน แต่ก็เป็นปรากฏการณ์ส้าคัญที่สะท้อน
ถึงความเหลื่อมล ้าของการเข้าถึงทรัพยากรอย่างหนึ่ง เนื่องจากต้าบลหนองสาหร่ายยังคงเป็นต้าบลในเขตพื นที่
ชนบทในขณะนั น ไม่ได้เป็นแหล่งอุตสาหกรรมหรือเป็นพื นที่ผลิตผลผลิตที่มีมูลค่าสูง หลังจากที่ชาวต้าบล
หนองสาหร่ายได้ใช้ประโยชน์จากน ้าที่อาศัยแรงคนขุด แต่ก็ยังเป็นเพียงล้ารางน ้าซึ่งยังมีขนาดเล็ก ยังไม่
เพียงพอกับความต้องการของเกษตรทั งต้าบล จนกระทั่งต่อมารัฐบาลได้งบประมาณสนับสนุนจากธนาคารโลก
ให้งบสนับสนุนในการขุดคลองชลประทานและแหล่งในเขตภาคกลางลุ่มน ้าเข้าพระยา ท้าให้ความเป็นอยู่เรื่อง
การใช้น ้าของเกษตรกรในต้าบลหนองสาหร่ายเริ่มมีวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม