Page 129 - kpi20902
P. 129

128



                         ปรากฏการณ์ดังกล่าวสะท้อนถึง รูปแบบของการสร้างความเหลื่อมล ้าของประเทศอย่างส้าคัญ

              เนื่องจากชาวต้าบลหนองสาหร่ายได้ถูกตีกรอบว่าเป็นผู้ยากจน (Poverty line) จากการสร้างรายได้ที่ไม่ได้

              เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งเป็นการก้าหนดชะตาชีวิตคนในต้าบลหนองสาหร่ายจาก

              บุคคลภายนอกชุมชน ท้าให้สามารถอธิบายปรากฏการณ์นี ว่าระบบการสั่งการจากเบื องบนลงสู่เบื องล่าง มี

              ความไม่เหมาะสมกับวิถีของภาคการเกษตรอย่างชัดเจน เพราะกลุ่มคนที่สามารถสร้างรายได้เป็นจ้านวนมาก

              อย่างระบบอุตสาหกรรมสามารถสร้างการเจริญเติบโตทาง GDP (ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ) ให้กับ

              ประเทศได้มากกว่า จากข้อมูลแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 7 (พ.ศ.2535-2539) มีรายงาน

              ปรากฏว่า ในปี 2530 มีมูลค่าการส่งออก 16.6 แสนล้านบาท ในปี 2533 มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ นประมาณ

                                                                       45
              2.6 เท่า คือ เพิ่มขึ นจาก 3.7 แสนล้านบาท เป็น 9 แสนล้านบาท    แต่กระนั นก็ตามการขยายตัวก็ยังคง
              กระจุกตัวอยู่ในเขตชุมชนเมืองและปริมณฑลมากกว่าในเขตชนบทและมีบางส่วนเริ่มกระจายไปยังจังหวัดภาค

              กลางและภาคตะวันออก ดังนั น การสนับสนุนทรัพยากรต่าง ๆ จากแหล่งทุนของรัฐ จึงมีแนวโน้มเอนเอียงไป

              ยังกลุ่มทุนใหญ่ในภาคอุตสาหกรรมมากกว่าภาคเกษตรกรรม หรือในเขตชุมชนเมืองมากกว่าในเขตชุมชน

              ชนบท ทั ง ๆ ที่ในความเป็นจริง ชาวบ้านอาจจะมีความสุขกับการด้าเนินวิถีชีวิตแบบพออยู่พอกินได้อยู่แล้ว

              เนื่องจากการด้ารงชีวิตอยู่ด้วยอาหารที่บริโภคโดยการเพาะปลูกเอง เลี ยงไก่ไข่เอง เลี ยงปลาเอง ไม่สร้างหนี

              ภาระผูกพันหรือภาระด้านอื่นใดกับ เกษตรกร เมื่อมีเหลือจึงน้าไปขาย ท้าให้ชาวต้าบลหนองสาหร่าย

              โดยเฉพาะกลุ่มแกนน้า คิดว่าการพัฒนาไปสู่ความทันสมัยตามอย่างนโยบายที่ก้าหนดโดยหน่วยงานของรัฐ

              เป็นการพัฒนาแบบน้าพาชุมชนไปสู่ความล่มสลายโดยฝีมือของหน่วยงานภาครัฐนั่นเอง



                            “ระบบพัฒนาประเทศที่ใช้ระบบสั่งการจากเบื องบนเป็นระบบที่ไม่เหมาะกับภาค

                     เกษตรกร เพราะความทั่วถึงที่ไม่เท่าเทียมกัน เช่น ที่ใดเป็นที่ลุ่มน ้าก็ท่วม ส่วนที่ใดเป็น

                     ที่สูงน ้าก็ไม่ถึง คือที่ไหนที่มีความต้องการก็ไม่สามารถรับได้ แต่ที่ไหนที่ความต้องการเพียงพอ

                     แล้วก็จะได้รับเรื่อยๆ ท้าให้การพัฒนาโดยใช้ชุมชนเป็นตัวตั ง หรือหลักในการพัฒนา

                     ล่มสลาย คือรัฐบาลคิดให้ชาวบ้าน หรือชุมชนก็เป็นแค่ผู้ที่คอยรับแนวความคิดที่ถูกสั่งการ

                     นั นมา เช่น ในการแก้ปัญหาเรื่องหนี สินรัฐก็แก้ให้ ท้านาข้าวรัฐก็คิดแก้ให้ โดยที่ไม่เปิดโอกาส

                     ให้ชุมชนหรือชาวบ้านที่อยู่ในพื นที่คิดแก้ปัญหาที่เกิดขึ นเอง หรือคิดพัฒนาว่าควรท้า

                     อย่างไร”





                     45  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7, (ออนไลน์) แหล่งที่มา http://www.nesdb.go.th/ewt_dl_

              link.php?nid=3782, หน้าที่ 42-43.
   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134