Page 131 - kpi20902
P. 131

130



                         2) ปัญหาการเสื่อมสภาพของดิน


                            ปัญหาการเสื่อมสภาพของดินหรือการเสื่อมสภาพของหน้าดินของพื นที่ที่มีการเพาะปลูก

              อย่างต่อเนื่องค่อยๆ เป็นปัญหาสะสมกันมาอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากในอดีตการเพาะปลูกของเกษตรกร

              โดยเฉพาะการปลูกข้าวเป็นการปลูกเฉพาะข้าวนาปีหรือปลูกแค่ปีละ 1 ครั งในช่วงฤดูฝน เมื่อเกิดการเข้าถึง

              แหล่งน ้าจากคลองชลประทาน ท้าให้รูปแบบการเพาะปลูกเปลี่ยนไป เป็นการปลูกข้าวปีละ 2 ครั ง เมื่อสภาพ

              ของดินหรือหน้าดิน ค่อยๆ เสื่อมสภาพตามกาลเวลา คือ สภาพของดินเริ่มเกิดความเปลี่ยนแปลงขาดความ

              อุดมสมบูรณ์ ขาดความยืดหยุ่น และกลายสภาพเป็นดินดานคือ แข็งเป็นก้อน ไม่สามารถอุ้มน ้าได้เป็นอย่างดี

              ขาดแร่ธาตุที่ส้าคัญในการเจริญเติบโตของพืช ท้าให้สภาพดังกล่าว เกษตรกรชาวต้าบลหนองสาหร่ายจึงได้

              มีการน้าปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยวิทยาศาสตร์มาใช้ในการเพาะปลูก เนื่องจากการสนับสนุนและโฆษณาชวนเชื่อจาก

              ตัวแทนของหน่วยงานภาครัฐ โดยเฉพาะหน่วยงานด้านการเกษตรโดยตรง ท้าให้มีการน้าปุ๋ยเคมีมาใช้ในการ

              เพาะปลูกอย่างกว้างขวาง ซึ่งการน้าปุ๋ยเคมีดังกล่าวมาใช้เป็นการเร่งผลผลิตท้าให้ข้าวเพิ่มปริมาณมากขึ น

              เป็นการเพิ่มรายได้ให้กับชาวนาซึ่งเป็นแรงจูงใจอย่างส้าคัญ ในทางกลับกันปุ๋ยเคมียิ่งท้าให้สภาพดินเสื่อมสภาพ

              มากยิ่งขึ น ท้าให้การเพาะปลูกในแต่ละฤดูกาลชาวนาจ้าเป็นต้องใช้ปุ๋ยเคมีในปริมาณที่เพิ่มมากยิ่งขึ นเรื่อยๆ

              เนื่องจากต้องการคงปริมาณของผลผลิตข้าว ให้เพิ่มมากขึ นอยู่อย่างสม่้าเสมอ และให้เหมาะสมกับต้นทุน

              การผลิตที่เพิ่มมากขึ นเช่นเดียวกัน เนื่องจากเกษตรกรขาดการเข้าถึงแหล่งทุนตั งแต่ต้นเพราะต้นทุนการผลิต

              อยู่นอกเหนือการควบคุมของเกษตรกร เมื่อทุนในการผลิตไม่เพียงพอ เกษตรจึงจ้าเป็นต้องหาแหล่งเงินกู้

              หรือแหล่งทุนที่มาสนับสนุน การเพาะปลูกดังกล่าว


                            “ภาครัฐหันมาใช้ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ หรือ GDP เงินทองหรือผลประโยชน์

                     ที่หามาได้เป็นตัวตัดสินความมีจนของคนในชุมชน เรือกสวนไร่นาที่เคยท้าเพียงแค่ปีละหนึ่งครั ง

                     ก็พออยู่พอกิน ถูกเร่งรอบเพื่อเพิ่มผลผลิตหวังแต่ให้ได้ผลก้าไรมากๆ เพื่อนบ้านที่เคยลงแขก

                     ช่วยเหลือกันก็กลายเป็นการว่าจ้างเครื่องจักรมาหว่านไถ ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง สารเร่งโต

                     กลายเป็นของจ้าเป็นส้าหรับเกษตรกร ความช่วยเหลือแบ่งปันที่เคยมีเปลี่ยนเป็นการแข่งขัน

                     อวดวัดฐานะกันด้วยทรัพย์สินเงินทอง ท้าให้ผู้คนในชุมชนต้าบลหนองสาหร่ายถูกครอบง้า


                     ด้วยความคิดที่ว่าต้องเร่งหาเงินให้มากพอ เพื่อก้าวพ้นเส้นค้าว่า “ยากจน””  สัมภาษณ์
                     นายศิวโรฒ  จิตนิยม  ผู้จัดการสถาบันการเงินชุมชนบ้านหนองสาหร่าย  วันที่ 23 สิงหาคม


                     2562
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136