Page 132 - kpi20902
P. 132

131



                               “จากการเก็บข้อมูลในการจัดท้าแผนแม่บทชุมชน พบว่า ค่าใช้จ่ายหรือที่มาของหนี

                        ก้อนใหญ่ที่สุด คือราว 30 ล้านบาทต่อปีมาจากการซื อปุ๋ยเคมี เนื่องจากกระแสของการ

                        พัฒนาที่มุ่งจะเพาะปลูกเพื่อขายไม่ได้มีไว้บริโภคเหมือนแต่เดิม จนมีค้ากล่าวที่ชาวบ้าน

                        พูดกันว่า “ในน ้ามีปลา ในนามีข้าว เปลี่ยนเป็น ในน ้ามียา (สารเคมี) ในนามีหนี ”  สัมภาษณ์

                        นายแรม เชียงกา ประธานศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง วันที่ 18 สิงหาคม 2562


                               “เมื่อก่อนเราก็ไม่ได้ใช้ปุ๋ย แต่เราก็ได้ผลผลิต สมัยนี พอไม่ใช้ปุ๋ยผลผลิตก็ไม่ออก


                        หญ้าก็เยอะมาก เราก็มองว่า วัชพืชพวกนี  มันก็มีหลายปัจจัยที่เกิดขึ น น่าจะมาจากน ้าบ้าง
                        จากพันธุ์ข้าวบ้าง จากน ้าชลประทานบ้าง พอเราใช้ปุ๋ย ปลาก็ไม่ค่อยมีปูก็ไม่ค่อยมี ปูนี เรายัง


                        ต้องเลี ยงเอาไว้กินเลย” สัมภาษณ์ นายวิเชียร วรรณะ  อดีตก้านันต้าบลหนองสาหร่าย
                        วันที่ 4 กันยายน 2562



                            ดังนั น จากปรากฏการณ์ดังกล่าวท้าให้พอจะสรุปได้ว่าปัญหาการเสื่อมสภาพของดินเป็นผลพวง

                 ตามมา จากการเร่งการผลิตข้าวตามความต้องการของตลาด คือ ปัญหาการเสื่อมสลายของดิน โดยเฉพาะ

                 หน้าดินที่จ้าเป็นต่อการเพาะปลูกข้าวและพืชล้มลุกอย่างอื่น การเปลี่ยนรูปแบบการเพาะปลูกโดยพยายาม

                 ใช้ปุ๋ยเคมีในการเพาะปลูกยิ่งเป็นตัวเร่งท้าให้ดินและน ้าในพื นที่เกษตรกรรมยิ่งเสื่อมสภาพเร็วยิ่งขึ นใน

                 กระบวนการดังกล่าว ส่งผลท้าให้ในกระบวนการผลิตข้าวจ้าเป็นต้องเพิ่มปริมาณการใช้ปุ๋ยเพิ่มมากยิ่งขึ น

                 ไม่อย่างนั นปริมาณของผลผลิตข้าวจะลดลงไปเรื่อย ๆ ท้าให้เกิดเป็นภาระผูกพันเมื่อมีการเพิ่มการใช้ปุ๋ยเคมี

                 ส่งผลท้าให้ทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ นตามไปด้วย



                            3) ปัญหาต้นทุนการผลิตที่สูงขึ น

                               มีค้าโบราณที่เคยได้ยินได้ฟังมาตั งแต่เด็กว่า “ชาวนาเป็นกระดูก สันหลังของชาติ” เนื่องจาก

                 การท้านาเป็นอาชีพที่คงอยู่คู่กับคนไทยมาช้านาน เพราะคนไทยบริโภคข้าวเป็นอาหารหลักอีกทั งสภาพพื นที่

                 เหมาะสมกับการเพาะปลูกข้าวโดยเฉพาะพื นที่ภาคกลางที่มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มและมีแหล่งน ้า

                 อุดมสมบูรณ์ จากข้อมูลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พบว่า จ้านวนเกษตรกรที่เพาะปลูกข้าวในประเทศ


                 ไทยปัจจุบันนี มีมากถึง 3.7 ล้านครัวเรือน ชาวนามีการปลูกข้าวทั งหมด 80.67 ล้านไร่ มีการปลูกข้าวเฉลี่ย
                 ครัวเรือนละ 15.47 ไร่ โดยชาวนาปลูกข้าวในขนาดพื นที่ 10-20 ไร่ มากที่สุด จ้านวน 1,162,057 ครัวเรือน
                                                                                                          46




                        46  เรื่องจริงที่ก่อนตาย... ชาวนาไทยต้องอ่าน, (ออนไลน์) แหล่งที่มา http://www.saiseenews.com/%E0%B9%

                 80%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137