Page 119 - kpi20902
P. 119
118
สุขพรหม, จิตนิยม เป็นต้น) ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและก้าหนดทิศทางในการด้าเนินชีวิต
ได้ด้วยตนเองซึ่งก็เป็นรูปแบบที่เริ่มฝึกให้คนในต้าบลเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองในระดับชุมชน โดยมี
รูปแบบการเข้าร่วมโดยใช้ระบบตัวแทนจากหมู่บ้านต่างๆ เข้าร่วมประชุมพร้อมกับผู้น้าชุมชนในต้าบลทั งหมด
ที่เรียกว่า “สภา 79” เพราะมาจากตัวแทนทุกหมู่บ้านจ้านวน 79 คน
“เราจะต้องมาใช้สภา79 เพื่อแก้ไขปัญหา สภา79 ประกอบด้วย 1) ก้านัน
ผู้ใหญ่บ้านทั ง 9 หมู่บ้าน 2) ท้องถิ่นคัดมาทั งหมด 9 คน 3) อสม.หมู่บ้าน 4 กองทุน
หมู่บ้าน 5) กลุ่มอาชีพ 6) เยาวชน 7) ผู้สูงอายุ 8) วัด 2 วัด 9) โรงเรียน 3 โรงเรียน
สถานีอนามัย ปลัด 1 คน รวมเป็น 79 คน” สัมภาษณ์ นายแรม เชียงกา ประธาน
ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วันที่ 18 สิงหาคม 2562
โดยสมาชิกจาก “สภา 79” จะมาจากกลุ่มตัวแทนที่ได้รับการเลือกจากกลุ่มชาวบ้านในที่ประชุม
หมู่บ้านประจ้าเดือน ประกอบด้วย ตัวแทนจากหมู่บ้านๆ ละ 8-9 คน คือ 1) ตัวแทนกลุ่มเยาวชน 2) ตัวแทน
กลุ่ม อสม. (สาธารณสุข) 3) ตัวแทนกลุ่มผู้สูงอายุ 4) ตัวแทนกลุ่มอาชีพ 5) ตัวแทนกลุ่มสตรี 6) ตัวแทน
กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน 7) ผู้ใหญ่บ้าน 8) ผู้อ้านวยการโรงเรียน 9) พระภิกษุ รวมเป็น 79 รูป/คน ซึ่งสมาชิก
ของสภา 79 จะมีวาระคราวละ 2 ปี แต่ถึงแม้จะมีการเลือกตัวแทนใหม่ทุกๆ 2 ปี แต่การเลือกตัวแทนใหม่
ก็มักจะได้ตัวแทนเป็นคนเดิมๆ ต่อเนื่องกัน บางครั งตัวแทนบางท่านได้รับการคัดเลือกเป็นตัวแทนจนเสียชีวิต
จึงจะมีการเปลี่ยนคนท้าหน้าที่ตัวแทนใหม่
“ส่วนใหญ่ที่ชาวบ้านเลือกคือเราจะมีแต่ละหมู่บ้านจะมีองค์กรอยู่แล้ว องค์กร อสม.
จะส่งใคร 9 คน องค์กรผู้ใหญ่บ้านเป็นโดยต้าแหน่ง วัดเป็นโดยต้าเเหน่ง ตัวแทนจากโรงเรียน
เป็นโดยต้าแหน่ง อนามัยเป็นโดยต้าแหน่ง ปลัด อบต. เป็นโดยต้าแหน่ง ทุกคนคือเลือก
ตัวแทนของตัวเองเดิมๆ สานต่อ ที่จริงสภาอยู่ได้ 2 ปีเปลี่ยนครั ง ส่วนใหญ่ก็จะได้คนเดิมๆ
เข้ามา นอกจากผู้สูงอายุจะเสียชีวิตถึงจะมีหน้าใหม่เข้ามา เป็นแถวเป็นแนวมาแล้วเบื องต้น”
สัมภาษณ์ นายแรม เชียงกา ประธานศูนย์เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วันที่ 18 สิงหาคม
2562