Page 172 - kpi20767
P. 172

147
                                 4) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการ

                       ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักการมีส่วน

                       ร่วมจ าแนกตามประสบการณ์ท างานของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า มีค่า F เท่ากับ 3.52 ที่องศาความเป็น
                       อิสระ (df) เท่ากับ 3 และมีนัยส าคัญทางสถิติ เท่ากับ .02 (Sig. = .02) ซึ่งน้อยกว่านัยส าคัญทางสถิติ

                       ที่ก าหนดไว้ในการวิจัย โดยสามารถแปลผลได้ว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์

                       ท างานต่างกัน มีระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการ
                       บริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักการมีส่วนร่วม แตกต่างกันอย่างมี

                       นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผู้วิจัยจึงได้ท าการทดสอบความแตกต่างในรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD

                       ดังตารางที่ 4.42 ต่อไป
                                 5) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการ

                       ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักความรับ

                       ผิดพบว่า มีค่า F เท่ากับ 4.39 ที่องศาความเป็นอิสระ (df) เท่ากับ 3 และมีนัยส าคัญทางสถิติ เท่ากับ
                       .00 (Sig. = .00) ซึ่งน้อยกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ก าหนดไว้ในการวิจัย โดยสามารถแปลผลได้ว่า กลุ่ม

                       ตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ท างานต่างกัน มีระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์

                       ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบ
                       หลักความรับผิด แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ผู้วิจัยจึงได้ท าการทดสอบความ

                       แตกต่างในรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD ดังตารางที่ 4.43 ต่อไป

                                 6) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการ
                       ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักความ

                       คุ้มค่าพบว่า มีค่า F เท่ากับ 1.78 ที่องศาความเป็นอิสระ (df) เท่ากับ 3 และมีนัยส าคัญทางสถิติ

                       เท่ากับ .15 (Sig. = .15) ซึ่งมากกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ก าหนดไว้ในการวิจัย โดยสามารถแปลผลได้
                       ว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ท างานต่างกัน มีระดับการด าเนินงานตาม

                       ยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลใน

                       องค์ประกอบหลักความคุ้มค่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177