Page 170 - kpi20767
P. 170
145
ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักความรับ
ผิด ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
6) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการ
ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักความ
คุ้มค่าพบว่า มีค่า F เท่ากับ 1.08 ที่องศาความเป็นอิสระ (df) เท่ากับ 3 และมีนัยส าคัญทางสถิติ
เท่ากับ .49 (Sig. = .49) ซึ่งมากกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ก าหนดไว้ในการวิจัย โดยสามารถแปลผลได้
ว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต าแหน่งต่างกัน มีระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติใน
ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลัก
ความคุ้มค่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ตอนที่ 5.3 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติใน
ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาล โดยรวม และในราย
องค์ประกอบ จ าแนกตามประสบการณ์ท างานของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน
พหุคูณแบบทางเดียว ผลการวิเคราะห์ข้อมูลปรากฏดังตารางที่ 4.38 ดังนี้
ตารางที่ 4.38 แสดงผลการเปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับ
สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลโดยรวมและราย
องค์ประกอบ จ าแนกตามประสบการณ์ท างาน
Multivariate Tests
Source Dependent Sum Squares df Mean Square F Sig.
ประสบการณ์ องค์ประกอบหลักนิติธรรม 7.81 3.00 2.60 5.16 .00 **
ท างาน องค์ประกอบหลักคุณธรรม 4.99 3.00 1.66 3.10 .03 *
องค์ประกอบหลักความโปร่งใส 11.11 3.00 3.70 5.43 .00 **
องค์ประกอบหลักการมีส่วนร่วม 6.19 3.00 2.06 3.52 .02 *
องค์ประกอบความรับผิด 6.11 3.00 2.04 4.39 .00 *
องค์ประกอบหลักความคุ้มค่า 2.93 3.00 .98 1.78 .15
การด าเนินงานฯ โดยรวม 5.60 3.00 1.87 4.23 .01 **
จากตารางที่ 4.38 พบว่า ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์
ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาล โดยรวมจ าแนก
ตามประสบการณ์ท างานของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้การทดสอบ Multivariate Tests แบบทางเดียว
(Mutivariate Analysis of Variance: One-way MANOVA) พบว่า มีค่า F เท่ากับ 4.23 ที่องศา
ความเป็นอิสระ (df) เท่ากับ 3 และมีนัยส าคัญทางสถิติ เท่ากับ .01 (Sig. = .01) ซึ่งน้อยกว่านัยส าคัญ
ทางสถิติที่ก าหนดไว้ในการวิจัย โดยสามารถแปลผลได้ว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ท างาน