Page 167 - kpi20767
P. 167
142
ในการวิจัย โดยสามารถแปลผลได้ว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีสังกัดหน่วยงานต่างกัน มี
ระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักคุณธรรมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ
.05
3) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการ
ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักความ
โปร่งใสจ าแนกตามสังกัดหน่วยงานของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า มีค่า F เท่ากับ 1.75 ที่องศาความเป็น
อิสระ (df) เท่ากับ 2 และมีนัยส าคัญทางสถิติ เท่ากับ .17 (Sig. = .17) ซึ่งมากกว่านัยส าคัญทางสถิติที่
ก าหนดไว้ในการวิจัย โดยสามารถแปลผลได้ว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีสังกัดหน่วยงาน
ต่างกัน มีระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักความโปร่งใส ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทาง
สถิติที่ระดับ .05
4) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการ
ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักการมีส่วน
ร่วมจ าแนกตามสังกัดหน่วยงานของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า มีค่า F เท่ากับ 1.85 ที่องศาความเป็นอิสระ
(df) เท่ากับ 2 และมีนัยส าคัญทางสถิติ เท่ากับ .16 (Sig. = .16) ซึ่งมากกว่านัยส าคัญทางสถิติที่
ก าหนดไว้ในการวิจัย โดยสามารถแปลผลได้ว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีสังกัดหน่วยงาน
ต่างกัน มีระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักการมีส่วนร่วม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทาง
สถิติที่ระดับ .05
5) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการ
ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักความรับ
ผิดพบว่า มีค่า F เท่ากับ .95 ที่องศาความเป็นอิสระ (df) เท่ากับ 2 และมีนัยส าคัญทางสถิติ เท่ากับ
.39 (Sig. = .39) ซึ่งมากกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ก าหนดไว้ในการวิจัย โดยสามารถแปลผลได้ว่า กลุ่ม
ตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีสังกัดหน่วยงานต่างกัน มีระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติใน
ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลัก
ความรับผิด ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
6) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการ
ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักความ
คุ้มค่าพบว่า มีค่า F เท่ากับ 1.63 ที่องศาความเป็นอิสระ (df) เท่ากับ 2 และมีนัยส าคัญทางสถิติ
เท่ากับ .20 (Sig. = .20) ซึ่งมากกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ก าหนดไว้ในการวิจัย โดยสามารถแปลผลได้