Page 164 - kpi20767
P. 164
139
การสังเกต หรือค่าความคลาดเคลื่อนของตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยไม่มีความแปรปรวนระหว่างกันนั่นเอง
ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขและข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเชิงเส้นตรง
4.8 ผลการทดสอบค่าเฉลี่ย และความเป็นอิสระของความคลาดเคลื่อน และความ
เหมาะสมของสมการถดถอย
ในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทดสอบค่าเฉลี่ยและค่าความเป็นอิสระของความ
คลาดเคลื่อน หรือภาวะ Auto Correlation และความเหมาะสมของตัวแปรอิสระในการน าเข้าสู่
สมการถดถอย โดยการใช้ Residual Mean Statictic, Durbin-Watson Statistic และ Analysis of
Variance; Lack of Fit Test ตามล าดับ ซึ่งผลการทดสอบปรากฏดังตารางที่ 4.34 ดังนี้
ตารางที่ 4.34 ผลการทดสอบ Residual Mean, Auto Correlation and Lack of Fit Test
Residual Mean, Auto Correlation and Lack of Fit Test
Durbin- Residuals
Source DF SS MS adj. F Sig.
adj.
Watson Mean S.D.
**
X1-12 1 86.69 86.69 534.12 1.82 .00 .35 .00
Lack-of-Fit 158 28.19 0.18 1.24 .10
Pure Error 135 19.37 0.144
Total 294 134.25
จากตารางที่ 4.34 พบว่า จากการทดสอบเงื่อนไขและข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับความคงที่
ของความแปรปรวนในค่าความคลาดเคลื่อนทุกๆ ค่าการสังเกตของตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย พบว่า
ค่าเฉลี่ยของความคลาดเคลื่อน มีค่าเท่ากับ .00 (Residual Mean= .00) ส่วนค่าความเป็นอิสระของ
ความคลาดเคลื่อน หรือภาวะ Auto Correlation มีค่าเท่ากับ 1.82 (Durbin-Watson = 1.82) และ
ความเหมาะสมของตัวแปรอิสระ หรือ Lack-of-Fit มีค่านัยส าคัญทางสถิติเท่ากับ .10 (Sig. = .10) ซึ่ง
มากกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ก าหนดไว้ในการทดสอบ ซึ่งผลการทดสอบดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไข
และข้อตกลงเบื้องต้นของการใช้สถิติในการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเชิงเส้นตรง
4.9 สรุปผลการทดสอบเงื่อนไขและข้อตกลงเบื้องต้นของการใช้สถิติ
จากผลการทดสอบเงื่อนไขและข้อตกลงเบื้องต้นของการใช้สถิติการวิเคราะห์ความ
แปรปรวนพหุคูณแบบทางเดียว (One-way MANOVA) และการถดถอยพหุคูณเชิงเส้นตรง (Multiple
Linear Regression; MLRA) สามารถสรุปได้ดังตารางที่ 4.35 ดังนี้