Page 163 - kpi20767
P. 163
138
ตารางที่ 4.32 ผลการทดสอบความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม
ANOVA; Linearity
การด าเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลฯ โดยรวม S.S. df M.S. F Sig.
**
Between Groups (Combined) 132.75 260 .51 12.05 .00
(X – X ) LinearTerm 86.68 1 86.68 2045.14 .00 **
12
1
46.07 259 .18 4.17 .00**
Within Groups 1.44 34 .04
Total 134.19 294
จากตารางที่ 4.32 พบว่า จากการทดสอบเงื่อนไขและข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับ
ความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม (X*Y Linearity) โดยการใช้ F-test
(ANOVA-Linearity Test) พบว่า การแจกแจงของกลุ่มตัวอย่างมีค่าน้ าหนักของความเป็นเส้นตรง
เท่ากับ 2045.14 (Linearity; Weighted F = 12.05) และมีนัยส าคัญทางสถิติ (Linearity; Weighted
Sig. = 0.00**) แสดงให้เห็นว่าตัวแปรอิสระ (X – X ) กับตัวแปรตาม (Y ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ มี
1
12
รวม)
ความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงระหว่างกัน ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขและข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์การ
ถดถอยพหุคูณเชิงเส้นตรง
4.7 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทดสอบความคงที่ของความแปรปรวนในค่าความ
คลาดเคลื่อน
ในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทดสอบความคงที่ของความแปรปรวนในค่าความ
คลาดเคลื่อน เป็นการทดสอบเพื่อวิเคราะห์ความคงที่ของความแปรปรวนเกี่ยวกับค่าความ
คลาดเคลื่อน (e) ของตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยทุกๆ ค่าสังเกต โดยการใช้ Modified Levene’s Test ซึ่ง
ผลการทดสอบปรากฏดังตารางที่ 4.33 ดังนี้
ตารางที่ 4.33 ผลการทดสอบความคงที่ของความแปรปรวนในค่าความคลาดเคลื่อน
Hypothesis Test Summary
Null Hypothesis Test Sig. Decision
X with equal probabilities Modified Levene’s Test .32 Retain null hypothesis
รวม
จากตารางที่ 4.33 พบว่า จากการทดสอบเงื่อนไขและข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับความคงที่
ของความแปรปรวนในค่าความคลาดเคลื่อนทุกๆ ค่าการสังเกตของตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย พบว่า มี
นัยส าคัญทางสถิติเท่ากับ .32 (Sig. = .32) ซึ่งมากกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ก าหนดไว้ในการทดสอบ
โดยผลการทดสอบได้แสดงให้เห็นว่ายอมรับสมมติฐานของการทดสอบ (Retain null hypothesis)
นั่นคือ ความแปรปรวนค่าความคลาดเคลื่อนของตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ มีความคงที่ในทุก ๆ ค่า