Page 160 - kpi20767
P. 160

135
                       ตารางที่  4.28  การทดสอบภาวะสารูปสนิทดี และความเป็นอิสระของข้อมูล

                                              Goodness-of-Fit & Independencies Tests
                          Tests           DF        Statistics   รวมการด าเนินงานฯ (Y )    P-Value
                                                                                  รวม
                           Deviance                                        11.47              1.00
                                         281       Chi-Square
                           Pearson                                         11.30              1.00


                               จากตารางที่ 4.28 พบว่า ข้อมูลตัวแปรอิสระ (X ) และตัวแปรตาม (Y ) ที่ใช้ในการ
                                                                                             รวม
                                                                         รวม
                       วิเคราะห์ครั้งนี้ มี Goodness of Fit หรือภาวะสารูปสนิทดี และข้อมูลมีความเป็นอิสระ ซึ่งสามารถ
                       พิจารณาได้จากนัยส าคัญทางสถิติข้อมูลตัวแปรอิสระ (X ) และตัวแปรตาม (Y ) ที่ใช้ในการ
                                                                        รวม
                                                                                            รวม
                       วิเคราะห์ ซึ่งพบว่ามีนัยส าคัญทางสถิติมากกว่าที่ก าหนดไว้ในการทดสอบ ซึ่งแปลผลได้ว่า ข้อมูลที่ใช้

                       ในการวิจัยครั้งนี้ มีภาวะสารูปสนิทดี และมีความเป็นอิสระ ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขและข้อตกลง
                       เบื้องต้นของการวิเคราะห์การวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณแบบทางเดียว (One-way MANOVA)

                       และการถดถอยพหุคูณเชิงเส้นตรง (Multiple Linear Regression)

                                   4 . 3 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทดสอบเอกพันธ์มิติความแปรปรวน หรือ
                       Homogeneity of Variances

                                     ในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทดสอบทดสอบเอกพันธ์มิติความแปรปรวน หรือ

                       Homogeneity of Variances ของกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย มีสถิติที่ใช้ในการทดสอบ ได้แก่
                       Box's Test of Equality of Covariance Matrices ซึ่งผลการทดสอบปรากฏดังตารางที่ 4.29 ดังนี้


                       ตารางที่  4.29  การทดสอบเอกพันธ์มิติความแปรปรวน (Homogeneity of Variances)


                                            Box's Test of Equality of Covariance Matrices
                                                                              Box's M
                                               Test Statistics
                                                                               223.22

                                                     F                          1.47
                                                    df1                          3

                                                    df2                        292.00

                                                    Sig.                         .22


                               จากตารางที่ 4.29 พบว่า นัยส าคัญของการทดสอบเอกพันธ์มิติความแปรปรวน
                       (Homogeneity of Variances) โดยการใช้ Box's Test of Equality of Covariance Matrices เพื่อ

                       หาความแปรปรวนภายในกลุ่มตัวอย่าง มีนัยทางสถิติมากกว่านัยส าคัญที่ก าหนดไว้ในการทดสอบ ซึ่ง
                       แปลผลได้ว่า กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ไม่มีความแปรปรวนภายในกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นไป

                       ตามเงื่อนไขและข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณแบบทางเดียว (One-way

                       MANOVA) และการถดถอยพหุคูณเชิงเส้นตรง (Multiple Linear Regression)
   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165