Page 177 - kpi20767
P. 177

152
                       ตารางที่  4.43 ผลการเปรียบเทียบรายคู่ การด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุล

                                   และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักความ

                                   รับผิด จ าแนกตามประสบการณ์ท างาน
                                             Post Hoc Multiple Comparision (LSD)

                                                      1-5 ปี              6-10 ปี          > 10 ปี
                          ประสบการณ์ท างาน
                                                                                          X
                                                                         X
                                                     X
                                                    ( = 3.91)            ( = 3.67)       ( = 3.59)
                               < 1 ปี                  .79                 .18              .04 *
                             X
                               ( = 3.87)
                                                                                              **
                                1-5 ปี                  -                  .03 *            .00
                              X
                             ( = 3.91)
                               6-10 ปี
                                                        -                   -               .52
                              ( =3.67)
                              X
                         **  = มีนัยส าคัญทางสถิติที่ .01

                          *  = มีนัยส าคัญทางสถิติที่ .05


                            จากตารางที่ 4.43 สามารถแปลผลการเปรียบเทียบรายคู่ การด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ

                       ในด้านการปรับสมดุล และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบ
                       หลักความรับผิด จ าแนกตามประสบการณ์ท างานได้ดังนี้

                            กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ท างานมากกว่า 10 ปี มีการด าเนินงานตาม

                       ยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุล และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลใน
                       องค์ประกอบหลักความรับผิดแตกต่างจากกลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ท างาน

                       น้อยกว่า 1 ปี และระหว่าง 1-5 ปี โดยกลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ท างาน

                       มากกว่า 10 ปี ( = 3.59) มีการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุล และพัฒนา
                                     X
                       ระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักความรับผิดต่ ากว่ากลุ่มตัวอย่าง

                       ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ท างานระหว่าง 1-5 ปี ( = 3.91) อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่
                                                                          X
                       .01 และต่ ากว่ากลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ท างานน้อยกว่า 1 ปี ( = 3.87)
                                                                                                 X
                       อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ .05 นอกจากนี้ยังพบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์
                       ท างานระหว่าง 6-10 ปี มีการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุล และพัฒนาระบบ

                       การบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักความรับผิดแตกต่างจากกลุ่มตัวอย่าง

                       ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ท างานระหว่าง 1-5 ปี โดยกลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มี


                       ประสบการณ์ท างานระหว่าง 6-10 ปี ( = 3.67) มีการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการ
                                                        X
                       ปรับสมดุล และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักความรับ
   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182