Page 179 - kpi20767
P. 179
154
b S.E. β (Beta)
2
**
R = .74 X .14 .05 .17 3.20 .00
7
R 2 Adj. = .73 X .06 .05 .07 1.29 .20
8
X .11 .06 .12 1.85 .06
9
X .03 .05 .03 .51 .61
10
a. Dependent Variable = X .25 .06 .27 4.38 .00
**
11
**
Ŷ X .27 .04 .32 6.89 .00
12
รวม
* = มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05, ** = มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01
จากตารางที่ 4.44 พบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการ
ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ โดยรวม
ซึ่งใช้การวิเคราะห์แบบก าหนดตัวแปรเข้าไปในสมการทั้งหมด (Enter Method) มีดังนี้
1. ปัจจัยที่น ามาศึกษาทั้ง 12 ตัวแปร มีความสัมพันธ์พหุคูณกับการด าเนินงานตาม
ยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลของ
องค์การภาครัฐ โดยรวม เท่ากับ .86 (R = .86) แสดงว่าตัวแปรอิสระทั้ง 12 ตัวแปรรวมกันมี
ความสัมพันธ์กับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ โดยรวม อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01
โดยมีค่าความสัมพันธ์อยู่ในระดับสูงมาก คือร้อยละ 86.00
2. ปัจจัยที่น ามาศึกษาวิจัยทั้ง 12 ตัวแปรมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงหรือการผันแปร
กับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
2
ภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ โดยรวม เท่ากับ .74 (R = .74) แสดงว่าตัวแปรอิสระทั้ง
12 ตัวแปร สามารถอธิบายการผันแปรหรือการเปลี่ยนแปลงการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติใน
ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ
โดยรวม ได้อย่างถูกต้องร้อยละ 74.00
3. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและ
พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ โดยรวม อย่างมีนัยส าคัญ
ที่ระดับ .01 มีจ านวน 3 ปัจจัย สอดคล้องกับสมมติฐานของการวิจัยที่ตั้งไว้ ซึ่งสามารถเรียงล าดับจาก
ตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อการผันแปรในตัวแปรตามในแบบคะแนนมาตรฐานมากที่สุดไปหาน้อย ดังนี้
3.1 ปัจจัยด้านผู้น า (X Beta = .32)
12
3.2 ปัจจัยด้านค่านิยม/วัฒนธรรม (X Beta = .27)
11
3.3 ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมภายนอก (X Beta = .17)
7