Page 167 - kpi20761
P. 167
166
ผลสรุปงานเขียนทางวิชาการหลายเรื่องได้ยืนยันบทวิเคราะห์
ข้อเท็จจริงข้างต้น นอกจากอนุสัญญาแกน ๖ ฉบับแล้ว ก็ยังมีอนุสัญญา
อีก ๑๒ ฉบับที่ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันไปแล้ว และในบรรดาอนุสัญญา
กลุ่มนี้ พบว่ามีหลักการของอนุสัญญา ๒ ฉบับที่ประสบปัญหาในเรื่อง
๒๔๐
การน�ามาปรับใช้ ซึ่งก็คือ อนุสัญญา MLC ว่าด้วยแรงงานในเรือเดินทะเล
และอนุสัญญาฉบับที่ ๑๘๗ ว่าด้วยการส่งเสริมกรอบความคิดเกี่ยวกับ
๒๔๑
ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการท�างาน โดยในเบื้องต้นได้มี
การประกาศใช้พระราชบัญญัติแรงงานทางทะเล พ.ศ. ๒๕๕๘ และ
พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการท�างาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อเป็นเครื่องมือพื้นฐานที่แสดงถึง
ความสอดคล้องของกฎหมายภายในกับเนื้อหาของอนุสัญญาที่ได้ให้
สัตยาบันแล้ว ทว่าการน�าหลักการต่างๆ ในพระราชบัญญัติแรงงาน
ทางทะเลฯ ซึ่งร่างขึ้นตามแนวทางของอนุสัญญา MLC ไปใช้งานจริง
กลับพบอุปสรรคในเชิงเทคนิคที่วิธีในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่รัฐ
อันเป็นกลไกเสริมที่จะช่วยสนับสนุนให้หลักการต่างๆ สามารถน�ามา
ใช้ให้เกิดผลได้จริง ยังไม่มีความชัดเจน ตัวอย่างเช่น วิธีการตรวจสภาพ
๒๔๐ ชุติมา สิริทิพากุล, พรบ.แรงงำนทำงทะเลคุ้มครองทั้งคนและเรือ, [ออนไลน์]
http://voicelabour.org/%E0%B8%9E-%E0%B8%A3-%E0%B8%9A-%E0%B9%81
%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8
%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0-
%B8%A5-%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B8%84/
[๑๕ มกราคม ๒๕๖๑]
๒๔๑ สุชาดา เรืองแสงทองกุล, ปัญหำกำรบังคับใช้กฎหมำยคุ้มครองลูกจ้ำงด้ำนควำม
ปลอดภัยในกำรท�ำงำนตำมพระรำชบัญญัติ ควำมปลอดภัยอำชีวอนำมัยและสภำพ
แวดล้อมในกำรท�ำงำน พ.ศ. ๒๕๕๔: ศึกษำกรณีสถำน ประกอบกำรย่ำนรังสิต และ
ใกล้เคียงจังหวัดปทุมธำนี, EAU Heritage Journal 230 Social Science and Humanity,
Vol 5 N.2 may-august 2015
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 166 13/2/2562 16:24:16