Page 85 - kpi20680
P. 85

61







                       ปัจจุบัน คือ ภาษีบ ารุง  ท้องที่ หรือ ภทบ.5  ซึ่งเป็นภาษีจากการใช้ประโยชน์  ในที่ดินที่เสียให้กับ
                       ท้องถิ่น จึงเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ ท าให้เกิดการกักตุนที่ดินเกิดขึ้นอย่างมหาศาล

                              การบริหารจัดการที่ดินของรัฐ

                              สาเหตุเริ่มต้นจากรัฐบังคับใช้กฎหมายที่ไม่ เป็นธรรมกับประชาชนที่อยู่อาศัยและท ากินทับ
                       ซ้อน อยู่ในที่ดินของรัฐ นับตั้งแต่การประกาศบังคับใช้ พระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 มีการนิยาม

                       ค าว่า ป่า หมายถึงที่ดินที่ไม่มีใครครอบครองโดยชอบด้วย กฎหมาย หมายความว่า ที่ดินทั้งหมดเป็น

                       พื้นที่ป่า  ของรัฐ ท าให้ประชาชนจ านวนมากที่มีครอบครอง  ที่ดินแล้ว แต่ยังไม่ได้รับสิทธิตาม
                       กฎหมายกลาย เป็นผู้บุกรุกตามพระราชบัญญัติป่าไม้ฉบับนี้ และท าให้ทุก พื้นที่ที่ไม่มีเอกสารสิทธิ

                       ในที่ดินกลายเป็นที่ป่าไป  โดยปริยาย ชาวบ้านจึงตกเป็นผู้บุกรุกป่าไปตั้งแต่  ปี 2484  เป็นต้นมา

                       ต่อมารัฐมีการประกาศพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504  และพระราช  บัญญัติป่าสงวน

                       แห่งชาติ พ.ศ. 2507  การก าหนดเขตป่าสงวนแห่งชาติได้ประกาศซ้อนทับลงไปใน  เขตป่าไม้ พ.ศ.
                       2484  โดยไม่มีการกันพื้นที่ออกก่อน  ที่ตั้งชุมชนและประชาชนที่อยู่อาศัยในพื้นที่ดังกล่าว  จึงถูก

                       ประกาศทับซ้อนและเป็นผู้กระท าผิดตาม กฎหมายทั้งสองฉบับ ถึงแม้ว่าการประกาศเขตป่า สงวน

                       จะเปิดโอกาสให้มีการคัดค้านการประกาศ ภายใน 90 วัน ก็ตาม แต่ในความเป็นจริงชาวบ้าน ที่อยู่
                       ในพื้นที่ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารจากทาง ราชการจึงหมดโอกาสในการคัดค้าน และที่ส าคัญ

                       ประชาชนเองก็ไม่รู้ว่าการประกาศเขตป่าสงวนฯ ดังกล่าวจะส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตตนเองในเวลา

                       ต่อมา

                              เมื่อรัฐปรับเปลี่ยนนโยบายจากการแสวงหา ประโยชน์จากป่าไม้โดยการสัมปทานท าไม้ มา
                       เป็นการอนุรักษ์ป่าไม้ตามแนวคิดอนุรักษ์นิยมที่ แยกคนออกจากป่า ประกาศเขตป่าอนุรักษ์ด้วยการ

                       ประกาศเขตอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า  ทับซ้อนลงไปในพื้นที่ประกาศเป็นป่าสงวน

                       แห่งชาติ หรือป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี และมีการเร่ง ขยายการประกาศมากขึ้น และชุมชนที่
                       ถูกประกาศ ป่าอนุรักษ์ทับซ้อนจึงกลายเป็นผู้ผิดกฎหมายถึง 3 ฉบับด้วยกัน

                              เมื่อที่ดินกระจุกตัวและที่ดินเข้าสู่กลไกตลาด  ชาวบ้านและคนจนเข้าถึงที่ดินที่มีเอกสาร

                       สิทธิ์ยาก ขึ้น ท าให้คนเหล่านี้เข้าไปใช้ที่ดินของรัฐกลายเป็น ปัญหาใหม่ และปัญหาเดิมยังไม่ได้รับ
                       การแก้ไข  ประกอบกับแรงกดดันจากปัญหาการไม่มีที่ดินท ากิน ท าให้ปัญหาที่ดินมีความซับซ้อน

                       ยุ่งยากมากขึ้นจนในขณะนี้ตัวเลขผู้ที่อยู่ในที่ดินของรัฐอย่างผิด กฎหมายจ านวนมาก ท าให้เกิดความ

                       ไม่มั่นคงใน การใช้ประโยชน์ที่ดินและอยู่อาศัย
                              ที่ผ่านมาจากการเรียกร้องต่อสู้ของภาคประชาชน จนมีมติคณะรัฐมนตรีหลายมติคณะ

                       รัฐมนตรี 29  เมษายน 2540  ซึ่งจะน าไปสู่การด าเนิน  การแก้ไขปัญหาโดยการมีส่วนร่วมของ

                       ประชาชน  แต่มติดังกล่าวได้ถูกยกเลิกไป และให้ด าเนินการ  ตามมติคณะรัฐมนตรี 30  มิถุนายน
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90