Page 27 - kpi20680
P. 27

5







                       เช่น ไฟฟ้า น ้าประปา ถนน การขนส่งคมนาคม แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นในภาคใต้เองก็มีประเด็นที่ต้อง
                       พิจารณาถึงความสมดุลระหว่างภาครัฐกับภาคประชาชน

                              หน้าที่จัดการดูแล อนุรักษ์ คุ้มครอง บ ารุงรักษา บริหารจัดการเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ

                       และสิ่งแวดล้อม ซึ่งเรียกโดยรวมว่า “สิทธิชุมชน”  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
                       2560  มาตรา 57  มาตรา 58 ในภาคใต้ประชาชนได้ใช้เสรีภาพในการเคลื่อนไหวประเด็นด้าน

                       ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แต่การใช้เสรีภาพดังกล่าวกลับถูกรัฐบาลเข้ามาจ ากัดการใช้

                       เสรีภาพดังกล่าว อีกทั้งการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนที่ได้รับผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจาก
                       โครงการขนาดใหญ่ของรัฐ ไม่ได้รับความเป็นธรรมในหลายเรื่อง เช่น กรณีสลายการชุมนุม

                       โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพา ภาครัฐเองห้ามด าเนินกิจกรรมและก็ใช้ต ารวจทหารมาสกัดกั้น ใช้

                       ก าลังจับกุมบุคคลไปกักขัง โดยประชาชนมีสิทธิลุกขึ้นมาเรียกร้องปกป้องสิทธิของตัวเอง เพราะ
                       เป็นเสรีภาพที่ยืนยันถึงอ านาจของประชาชนในการก าหนดชะตากรรมตนเอง โดยปกติประชาชนไม่

                       จ าเป็นต้องใช้เสรีภาพนี้เนื่องจากรัฐได้ท าหน้าที่ในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ และตอบสนอง

                       เจตนารมณ์ของประชาชนอย่างที่ควรเป็นอยู่แล้ว แต่หากเมื่อใดที่รัฐไม่ยอมท าหน้าที่ของตน เปลี่ยน

                       สถานะจากผู้รับใช้เป็นผู้กดขี่แล้ว ประชาชนย่อมต้องสามารถลุกขึ้นมาเรียกร้องผลประโยชน์อันพึง
                       มีพึงได้ของตัวเองได้  นั่นคือสาเหตุที่ประชาชนจ าเป็นต้องมีเสรีภาพในการชุมนุมเพื่อเป็น

                       หลักประกันว่าประชาชนจะยังคงสามารถด าเนินการ ให้เป็นไปตามสิทธิของตนได้ในพื้นที่ภาคใต้

                       อยู่บ่อยครั้ง ดังนั้น ภาครัฐในการก าหนดหน้าที่ต่อประชาชน ซึ่งเช่นเดียวกับประชาชนที่มีหน้าที่ต่อ

                       รัฐ จึงจ าเป็นต้องศึกษาความเห็นในเชิงพื้นที่ประกอบการศึกษาวิเคราะห์แบบอย่างที่ดีจากหน่วยงาน
                       ของรัฐมีบทบาทเชิงรุกในการท าหน้าที่ทั้งในเชิงการบริหารราชการ การจัดให้มีนโยบายสาธารณะที่

                       สอดคล้องกับสภาพสังคมและความต้องการของประชาชนที่ในอีกมิติหนึ่งคือสิทธิของประชาชนที่

                       จะได้รับสิ่งเหล่านั้นอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ เพื่อให้เกิดแนวทางการพัฒนาปรับปรุงกลไกความ
                       ร่วมมือระหว่างภาครัฐและประชาชนหรือชุมชนให้ดียิ่งขึ้น อันเป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็งของ

                       ประชาธิปไตยไทยให้สอดคล้องกับหลักการของรัฐเสรีประชาธิปไตยยิ่งขึ้น ประโยชน์โดยตรงที่

                       ประชาชนและชุมชนได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ของรัฐนั้น มีผลต่อการลดความเหลื่อมล ้าและสร้าง
                       ความเป็นธรรมในสังคมซึ่งเป็นโจทย์ท้าทายส าคัญในยุคต่อจากนี้
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32