Page 52 - kpi20488
P. 52
สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข 51
ทั้งนี้ จะเห็นได้ว่� ปัจจุบันประช�ชนมีพฤติกรรมก�รเปิดรับสื่อผ่�น
ช่องท�งออนไลน์และสื่อสังคม เพิ่มม�กขึ้น โดยส่วนใหญ่มีเป้�หม�ยของ
ก�รใช้สื่อเพื่อคว�มบันเทิงม�กกว่�เพื่อก�รเรียนรู้ ที่นำ�ไปสู่ก�รพัฒน�ตนเอง
และสังคม ขณะเดียวกันประช�ชน โดยเฉพ�ะเด็กและเย�วชนยังมีก�รเปิด
รับสื่ออย่�งไม่รู้เท่�ทันถึงผลกระทบที่อ�จจะเกิดขึ้น
นอกจ�กนี้ ก�รสื่อส�รผ่�นเครือข่�ยออนไลน์ที่มีก�รขย�ยตัวอย่�ง
ต่อเนื่อง ได้เอื้อให้ประช�ชนในฐ�นะผู้รับส�รไม่จำ�กัดตนเองอยู่เพียงก�รเป็น
ผู้ชมผู้ฟังอีกต่อไป กล่�วคือ ผู้รับส�รส�ม�รถเป็นผู้ส่งส�ร (Prosumer) ที่เผยแพร่
ข้อมูล คว�มคิด ทัศนคติของตนเองสู่ส�ธ�รณชน (User-Generated Content:
UGC) ได้ด้วยเช่นกัน ซึ่งก�รสร้�งเนื้อห�สื่อของบุคคลดังกล่�วย่อมมีผลต่อ
ก�รรับรู้ คว�มเชื่อ และพฤติกรรมของผู้สร้�งเนื้อห�เอง และก�รมีปฏิสัมพันธ์
กับผู้อื่นต่อเนื้อห�ที่ผลิตขึ้น จึงจำ�เป็นอย่�งยิ่งที่จะต้องส่งเสริมทักษะ
ก�รรู้เท่�ทันสื่อและก�รสร้�งสำ�นึกรับผิดชอบต่อผลกระทบที่อ�จเกิดขึ้น
ทั้งต่อตนเอง บุคคลแวดล้อม และสังคมโดยรวม
3.2 ประชาชนมีพฤติกรรมการเลือกข้างใน
การเปิดรับสื่อ ปิดกั้นตนเองจากการรับรู้ข้อมูล
ข่าวสารที่หลากหลาย
มีง�นวิจัยหล�ยชิ้นที่พบว่� ผู้รับส�รมักมองว่�สื่อนำ�เสนอเนื้อห�อย่�ง
มีอคติ ห�กสิ่งที่สื่อนำ�เสนอนั้นสวนท�งกับทัศนคติเดิมของตน ในท�งกลับกัน
ห�กสื่อนำ�เสนอเนื้อห�ที่เจืออคติ แต่เป็นไปในทิศท�งที่สอดคล้องกับทัศนคติ
เดิมของตน ผู้รับส�รก็กลับไม่มองว่�สื่อนั้นมีอคติแต่อย่�งใด ดังจะเห็นได้จ�ก
ง�นวิจัยของ Dalton และคณะ (1998) ซึ่งทำ�ก�รสำ�รวจก�รรับรู้ของประช�ชน
ต่อก�รนำ�เสนอเนื้อห�ของหนังสือพิมพ์ในช่วงเลือกตั้งประธ�น�ธิบดี (ช่วงปี
1996) พบว่� หนังสือพิมพ์ที่มีลักษณะเลือกข้�งกลับถูกมองว่�มีอคติน้อยกว่�
หนังสือพิมพ์ที่ไม่นำ�เสนอเนื้อห�แบบเลือกข้�ง