Page 55 - kpi20488
P. 55

54  สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข






                   ขณะที่ง�นวิจัยของ Holbert, Shah and Kwak (2004 อ้�งถึงใน Michael
             Morgan, James Shanahan, Nancy Signorielli, 2009) ระบุว่� ก�รดูร�ยก�ร
             ข่�ว และ reality program ที่เกี่ยวข้องกับตำ�รวจและอ�ชญ�กรรม ส่งผลให้
             เกิดคว�มกลัว และมีแนวโน้มที่จะพกปืนม�กขึ้น
                   ขณะที่ง�นวิจัยของไทย นันทวัน สุช�โต (2520, อ้�งถึงใน ก�ญจน�
             แก้วเทพ และคณะ, 2554) ได้ศึกษ�ถึงอิทธิพลของสื่อโทรทัศน์ที่มีต่อก�รแสดง
             พฤติกรรมก้�วร้�วของเด็กนักเรียนวัย 8-12 ปี ในกรุงเทพมห�นคร พบว่�
             ช่วงเวล�ที่เด็กนิยมดูร�ยก�รโทรทัศน์มักเป็นช่วงที่ร�ยก�รมีก�รนำ�เสนอเนื้อห�
             คว�มรุนแรง ซึ่งยิ่งมีก�รรับชมโทรทัศน์บ่อยครั้ง ก็ยิ่งทำ�ให้เด็กยอมรับก�รใช้

             คว�มรุนแรงแก้ไขปัญห� หรือแม้แต่เคยมีประสบก�รณ์ก�รใช้คว�มรุนแรง
             แก้ปัญห�ด้วยตัวเอง
                   อย่�งไรก็ต�ม ห�กสื่อส�รอย่�งสร้�งสรรค์ สื่อก็ช่วยสร้�งผลกระทบ
             ในด้�นบวกแก่เด็กและเย�วชนได้เช่นกัน โดยพบว่�
                   1)  ก�รใช้วิทยุม�ช่วยสอนนั้นจะมีผลต่อก�รเพิ่มคว�มคิดสร้�งสรรค์
                     ของนักเรียนชั้นประถมศึกษ� เนื่องจ�กธรรมช�ติของวิทยุที่เป็น
                     สื่อเสียงนั้นเอื้อต่อก�รสร้�งคว�มคิดริเริ่มสร้�งสรรค์ได้อย่�งม�ก
                     (ง�นวิจัยของสุช�ด� สิทธิเวคิน)
                   2)  ก�รรับชมร�ยก�รโทรทัศน์ส่งผลต่อพฤติกรรมและก�รสร้�งค่�นิยม

                     เช่น ก�รทำ�ดีได้ดี ก�รรักเพื่อน และก�รช่วยเหลือเพื่อน (ง�นวิจัย
                     ของ ผศ.ลักษมี คงล�ภ)
                   3)  ก�รศึกษ�ถึงบทบ�ทและอิทธิพลของโทรทัศน์ที่มีต่อเย�วชนและ
                     ครอบครัว พบว่� อิทธิพลด้�นบวกของสื่อโทรทัศน์ (ง�นวิจัยของ
                     นฤมล รื่นไวย์) มีดังต่อไปนี้
                     •  เป็นสื่อในเชิงสร้�งสรรค์ซึ่งเป็นแหล่งบันเทิงและแหล่งข้อมูล
                       ส�รสนเทศ
                     •  เป็นแหล่งสร้�งสรรค์แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่�งคนรุ่นใหม่
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60