Page 51 - kpi20488
P. 51
50 สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข
3. ปัญหาพฤติกรรมการเปิดรับสื่อ
กับการใช้สื่อเพื่อการเรียนรู้ของสังคม
ปัญห�ก�รเปิดรับสื่อของประช�ชน มีดังนี้
3.1 ประชาชนเลือกเปิดรับสื่อเพื่อความบันเทิง
มากกว่าเพื่อการเรียนรู้ และขาดทักษะการรู้เท่าทันสื่อ
จ�กก�รสำ�รวจเรื่อง “พฤติกรรมก�รรับข่�วส�รและคว�มเชื่อมั่นของ
ประช�ชนที่มีต่อสื่อมวลชน” โดยคณะนิเทศศ�สตร์ มห�วิทย�ลัยหอก�รค้�ไทย
(พ.ศ. 2559) พบว่� คนทุกช่วงวัยมีก�รเปิดรับข่�วส�รจ�กสื่อออนไลน์เพิ่มขึ้น
โดยมีก�รเปิดรับข่�วบันเทิงม�กที่สุด (ร้อยละ 54.4) และในก�รเปิดรับข่�วส�ร
ผ่�นช่องท�งออนไลน์ ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมก�รรับข่�วส�รที่ถูกบอกต่อ หรือ
แชร์ม�จ�กคนใกล้ชิดม�กกว่�ก�รเปิดรับข่�วจ�กสำ�นักข่�วที่เป็นท�งก�ร
ขณะที่ร่�งแผนพัฒน�เศรษฐกิจและสังคมแห่งช�ติ ฉบับที่ 12 ระบุว่� คนไทย
ส่วนใหญ่ยังไม่ให้คว�มสำ�คัญกับก�รเรียนรู้ แม้ว่�ก�รใช้อินเทอร์เน็ตของ
คนไทยจะสูงขึ้นเป็น 26 ล้�นคน แต่เป็นก�รใช้เพื่อก�รอ่�นห�คว�มรู้เพียง
ร้อยละ 31.7
ขณะเดียวกันก�รศึกษ�เรื่อง UNICEF/IPSOS Global Youth Poll ของ
องค์ก�รทุนเพื่อเด็กแห่งสหประช�ช�ติ หรือยูนิเซฟ ซึ่งสำ�รวจเย�วชนอ�ยุ
18 ปี จ�ก 25 ประเทศ พบว่� ผู้ตอบแบบสอบถ�มในประเทศไทย ร้อยละ 85
เชื่อว่�เด็ก วัยรุ่น และเย�วชน กำ�ลังเผชิญกับอันตร�ยจ�กภัยคุกค�มท�งเพศ
หรือก�รแสวงห�ผลประโยชน์บนโลกออนไลน์ ขณะที่ร้อยละ 57 เชื่อว่�
เพื่อนๆ ของตนเองมีพฤติกรรมเสี่ยงบนโลกออนไลน์ แต่ร้อยละ 90 เชื่อว่�
ภัยเหล่�นั้นจะไม่เกิดขึ้นกับตน ขณะที่ผลก�รสำ�รวจของสำ�นักง�นพัฒน�ธุรกรรม
ท�งอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2559 พบว่� คนไทยมีแนวโน้มที่อ�จถูกขโมยข้อมูล
ส่วนบุคคล และถูกหลอกบนโลกออนไลน์ได้ง่�ย