Page 48 - kpi20488
P. 48
สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข 47
ที่ม�จ�กคว�มไม่เท่�เทียมกันเชิงอำ�น�จ เช่น ระบอบสมบูรณ�ญ�สิทธิร�ชย์
คว�มรุนแรงที่ม�จ�กโครงสร้�งท�งเพศที่มีร�กฐ�นม�จ�กอคติท�งเพศ
ก�รนำ�เสนอของละครโทรทัศน์ที่มีแก่นของเรื่องสะท้อนคว�มรุนแรง
ในหล�ยมิติข้�งต้น ในท�งหนึ่งนับได้ว่�ละครก็มีบทบ�ทสะท้อนสิ่งที่เกิดขึ้น
ในสังคม แต่ในอีกท�งหนึ่ง พฤติกรรมคว�มรุนแรงที่เกิดขึ้นบนจอโทรทัศน์
ก็เปรียบเสมือนลิ่มของคว�มรุนแรงที่ตอกเข้�ไปในมโนสำ�นึกของผู้ชม ทำ�ให้
ผู้ชมร�ยก�รที่เป็นสม�ชิกส่วนใหญ่ในสังคมเปิดรับคว�มรุนแรง และมอง
คว�มรุนแรงที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องปกติในสังคม
5.3 การละเลยเนื้อหาบางประเด็น หรือเลือกที่จะนำาเสนอเนื้อหา
อย่างไม่สมดุล
จ�กง�นวิจัยเรื่อง “ภ�พตัวแทนและคว�มสมดุลในก�รร�ยง�นข่�ว
โทรทัศน์กับบทบ�ทในก�รสร้�งคว�มสม�นฉันท์ในสังคมไทย” (เดือนกันย�ยน
- ตุล�คม 2548) ของโครงก�รศึกษ�และเฝ้�ระวังสื่อเพื่อสุขภ�วะของสังคม
พบว่� ก�รนำ�เสนอข่�วภ�คค่ำ�ของสถ�นีโทรทัศน์ช่องฟรีทีวีมีคว�มบกพร่อง
ในเรื่องคว�มสมดุลของข่�ว โดยก�รร�ยง�นข่�วส่วนใหญ่มีเพียงแหล่งข่�วเดียว
คือ แหล่งข่�วฝ่�ยที่ 1 (ต้นเรื่อง) ซึ่งถือว่�เป็นก�รนำ�เสนออย่�งไม่เป็นธรรม
กล่�วคือ ในแง่สัดส่วนพื้นที่ในข่�วของแหล่งข่�วฝ่�ยต่�งๆ มีก�รปล่อยภ�พ
เสียง และเนื้อห�ของคู่กรณีฝ่�ยที่ 2 และ 3 น้อยม�ก โดยเฉพ�ะในประเภทข่�ว
ก�รเมือง ทั้งนี้ พบว่� บุคคลที่ข�ดห�ยในก�รร�ยง�นข่�วคือ ผู้ได้รับผลกระทบ
จ�กเหตุก�รณ์นั้นๆ โดยตรง โดยเฉพ�ะข่�วก�รเมืองและนโยบ�ยรัฐ ข�ดห�ย
เสียงของประช�ชน องค์กรภ�คประช�สังคม หรือฝ่�ยที่ 3 ที่เป็นกล�งหรือ
ไม่มีผลประโยชน์ได้เสีย หรือส่วนที่มีคว�มเห็นแตกต่�งออกไป เช่น สถ�บัน
ก�รศึกษ� นักวิช�ก�ร ซึ่งมีน้อยม�กในก�รร�ยง�นข่�วทุกช่อง โดยพบว่�
ผู้ที่ข�ดห�ยไปจ�กเนื้อข่�วม�กที่สุดคือ องค์กรภ�คประช�ชนและประช�สังคม
ต่�งๆ